พัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพ ระบบเครือข่ายบริการสุขภาพแบบบูรณาการ การสัมมนา พัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพ ระบบเครือข่ายบริการสุขภาพแบบบูรณาการ เขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่ 8 โดย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ วันพุธที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2556 ณ ห้องประชุมวีนัส โรงแรมพาราไดซ์ จังหวัดอุดรธานี
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขปี2556 ข้อที่ 2 เพิ่มคุณภาพระบบหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ โครงการสำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เชื่อมโยงกับนโยบายกระทรวงสาธารณสุขปี2556 1.โครงการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขของหน่วยบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัดข้อ11(กระทรวง)/ระบบบริการ 2.โครงการพัฒนาเครือข่ายห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขในเขตสาธารณสุขหน่วยบริการทุติยภูมิ/ตติยภูมิ ตัวชี้วัดข้อ11(กระทรวง)/ระบบบริการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขปี2556 กับเขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่8 เขตสุขภาพ/จังหวัด เป้าหมายระยะเวลา 1 ปี ประเด็นหลัก 1.2 ระบบบริการสุขภาพ หัวข้อ 1.2.1 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 1.ระบบบริการ ร้อยละของเครือข่ายห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการพัฒนาศักยภาพ/คุณภาพ/หรือรับรองคุณภาพมาตรฐาน (ร้อยละ 70 ของแผนการเนินงาน) 2.ระบบสนับสนุน/การบริหาร กระบวนการธรรมาภิบาล(ประสิทธิภาพ) ต้นทุนค่ายาและค่าวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์เฉลี่ยลดลง(ร้อยละ10) (ในเขตสุขภาพเฉลี่ยลดลง)
(สปสช.ปกส.กรมบัญชีกลาง 1.Service Achievement Plan 10 สาขา รายเขต --- รายจังหวัด --- ราย รพ. 1.1 10 สาขา +Area Problem (เช่นมะเร็งท่อน้ำดีอีสาน) +Special (โครงการพระราชดำริ+ สาธารณสุขชายแดน+ยาเสพติด) 1.2 Refer System 1.3 การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย 1.4 ร่วมกับเอกชน,รพ.กระทรวงอื่นๆ 1.5 แผนพัฒนาคุณภาพบริการ 2.Administrative Plan 2.1 เงินบำรุง 2.2 จัดซื้อวัสดุ Labร่วม ,ยาร่วม,วัสดุการแพทย์ร่วม 2.3 แผนบุคลากร 2.4 แผนอภิบาลระบบ เช่นตรวจสอบ/ วัดประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ฯลฯ AERA HEALTH BOARD (เขตสุขภาพ) (PROVIDER BOARD) Purchaser (สปสช.ปกส.กรมบัญชีกลาง ,อปท,รัฐวิสาหกิจ) 3.Invertment Plan เขต 4. แผนส่งเสริมป้องกันโรค และร่วมภาคีเครือข่าย 4.1 กลุ่มวัยต่างๆ (ทารก,0-2 ปี,3-5ปี,นักเรียน,วัยรุ่น+BS)ดูแลเฝ้าระวังสตรีไทย, ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 4.2ป้องกันโรคไม่ติดต่อตามปัญหาของพื้นที่(เช่น อาชีวอนามัย COPD มะเร็งในพื้นที่) 4.3 ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ 4.4 อาหารปลอดภัย,สร้างความรอบรู้เรื่องสุขภาพ,ส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคส่วนต่างๆ 4.5สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ(เหล้า บุหรี่ Road Safety) 4.6 DHS 4.7 ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 4.8 ลดตาย อุบัติเหตุ เด็กจมน้ำตาย ฯลฯ
โครงการสำคัญ:กิจกรรม ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่2 ดำเนินการสนับสนุนพื้นที่ 1.โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ 2.โครงการประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการ การตรวจเอชไอวีซีโรโลยีแห่งชาติ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป้าหมาย ห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยโรค 320 แห่ง เป้าหมาย ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาล 96 แห่ง - ในสังกัด สป.จำนวน 79 แห่ง - นอกสป.จำนวน 17 แห่ง (รัฐ 8 เอกชน 9)
ตัวชี้วัด 1.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จำนวนห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ที่เข้าร่วมเป็นเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพ 96 แห่ง 1.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1.2.1 ตัวชี้วัด(กรม) ร้อยละ 70 ของห้องปฏิบัติกาโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ และตติยภูมิ ดำเนินการระบบคุณภาพตามมาตรฐานห้องปฏิบัติการ (งานเทคนิคการแพทย์หรือ ISO 15189) และเป็นสมาชิกการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ 1.2.2 ตัวชี้วัด (ศวก.) ร้อยละ 70 ของห้องปฏิบัติการทางการแพทย์(สป.)ที่รักษาสถานะภาพและกำลังพัฒนาได้รับการรับรองตามมาตรฐาน (งานเทคนิคการแพทย์หรือISO 15189 ) (29/41 แห่ง)
โครงการ:กิจกรรมสำคัญ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่2 ดำเนินการสนับสนุนพื้นที่ 3.โครงการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขของหน่วยบริการปฐมภูมิเครือข่ายบริการที่ 8 เป้าหมาย หน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวน 392 แห่ง ( ร้อยละ43ของหน่วยบริการปฐมภูมิ ในพื้นที่ 910แห่ง) 3.1ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ:จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิได้รับการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเป้าหมาย 3.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ:ร้อยละ 70 ของหน่วยบริการปฐมภูมิ (รพ.สต.ขนาดใหญ่ 111 แห่ง ศสม. 22 แห่งรวม 133 แห่ง) เข้าร่วมการประเมินคุณภาพการตรวจ ในจำนวน 4 รายการทดสอบ ที่ให้บริการ ได้เอง
1.โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ งบประมาณผู้รับผิดชอบ 1.1. จัดสัมนาการพัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพระบบเครือข่ายบริการสุขภาพแบบบูรณาการ 9 ม.ค. 687,000 ศวก.ที่ 2 1.2. จัดอบรมความรู้ตามข้อกำหนดมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์ 23-24มค. 1.3. จัดอบรม การบำรุงสอบเทียบเครื่องมือ ม.ค.-มี.ค. 1.4. สอบเทียบเครื่องมือพื้นฐาน 1,850 เครื่อง ต.ค.55-ก.ค.56 1.5. Internal Audit Lab กพ.-กย
สมาชิกและสปสช.แห่งชาติ 2.โครงการประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการ การตรวจเอชไอวีซีโรโลยีแห่งชาติ สาขา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ 2.1 ส่งตัวอย่างประเมิน คุณภาพห้องปฏิบัติการ ปีละ 3 ครั้งๆละ 8ตัวอย่าง 11 ธ.ค.55 4 มี.ค.56 7 พ.ค.56 สมาชิกและสปสช.แห่งชาติ 2.2.จัดสัมมนาสมาชิกเครือข่าย
รักษาสถานะ/ตรวจ-แก้ไข รอการรับรอง จำนวนห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาล เขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่ 8 กับการพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ จังหวัด จำนวน ผ่านการรับรอง รักษาสถานะ/ตรวจ-แก้ไข รอการรับรอง ควร พัฒนา อุดรธานี 18 15 3/2 หนองคาย 6 3 1/0 2 หนองบัวลำภู 5 1 เลย 13 4 9 บึงกาฬ 8 สกลนคร 17 10 นครพนม 11 7 รวม(แห่ง) 79 40 6/2 33
กลุ่มห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลที่ควรพัฒนา จำนวน 33 แห่ง กลุ่มห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลที่ควรพัฒนา จำนวน 33 แห่ง จังหวัด ห้องปฏิบัติการ ของรพ. เป้าหมายดำเนินการ 70% ปี 2556 ที่ควรผ่านการรับรอง ตามมาตรฐาน หนองคาย สังคม สระใคร 1.4 แห่ง 1.สังคม 2.สระใคร หนองบัวลำภู นาวังฯ 0.7 แห่ง บึงกาฬ บึงกาฬ เซกา บุ่งคล้า ศรีวิไล 2.8 แห่ง 1.เซกา 2.บุ่งคล้า 3. ศรีวิไล เลย 9 แห่ง นาแห้ว ปากชม ภูเรือ ภูกระดึง นาด้วง ท่าลี่ ภูหลวง ผาขาว วังสะพุง 6.3 แห่ง 1.ปากชม 2.ภูเรือ 3.นาด้วง 4.ท่าลี่ 5.วังสะพุง 6.ผาขาว 7.ภูกระดึง
กลุ่มห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลที่ควรพัฒนา จำนวน 33 แห่ง จังหวัด ห้องปฏิบัติการ ของรพ. เป้าหมายดำเนินการ 70% ปี 2556 ที่ควรผ่านการรับรอง ตามมาตรฐาน สกลนคร 10 แห่ง ส่องดาว คำตากล้า โพนนาแก้ว นิคมน้ำอูน เต่างอย เจริญศิลป์ สกลนคร วานรนิวาส พระอาจารย์แบนฯ กุดบาก 7.0 แห่ง 1.ส่องดาว 2.คำตากล้า 3.โพนนาแก้ว 4.กุดบาก 5.เต่างอย 6. เจริญศิลป์ 7.สกลนคร 8.พระอาจารย์แบนฯ นครพนม 7 แห่ง นาแก ท่าอุเทน บ้านแพง โพนสวรรค์ นาทม นาหว้า ปลาปาก 4.9 1.ท่าอุเทน 2.บ้านแพง 3.นาทม 4.นาหว้า 5.ปลาปาก
กลุ่มห้องปฏิบัติการโรงพยาบาล ที่อยู่ในระหว่างรักษาสถานะภาพ 1.รพ.โคกศรีสุพรรณ ครบกำหนด 20 ก.ค.55 2.รพ.กุมภวาปี ครบกำหนด 21 ก.ย.55 ตรวจ-แก้ไข รอการรับรอง 3.รพ.บ้านผือ ครบกำหนด 27 ก.ย.55 ตรวจ-แก้ไข รอการรับรอง 4.รพ.หนองหาน ครบกำหนด 13 ต.ค.55 5.รพ.หนองคาย ครบกำหนด 15 ต.ค.55 6.รพ.ร.ธาตุพนม ครบกำหนด 27 ต.ค.55
งบประมาณผู้รับผิดชอบ 3.โครงการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขของหน่วยบริการปฐมภูมิเครือข่ายบริการที่ 8 กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ งบประมาณผู้รับผิดชอบ 3.1 ประชุมผู้เกี่ยวข้องในเครือข่ายเพื่อการพัฒนา รพ.สต.ประเมินผลและการควบคุมคุณภาพ 1.มค-กพ. 2.เม.ย.-มิ.ย. 782,200 ศวก.ที่ 2 3.2 สำรวจชนิดและปริมาณชุดทดสอบที่ใช้งานใน รพ.สต. กพ. 3.3 จัดอบรมการทดสอบด้านชันสูตร และการใช้ชุดตรวจ จำนวน 4 รายการ ก.พ.-มี.ค. 3.4 จัดเตรียมและส่งตัวอย่างประเมินคุณภาพ (QC sample) จำนวน 4 ชนิดและจัดทำรายงาน พค.-มิย.
ข้อมูล ศสม.และรพ.สต. เขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่ 8 ข้อมูล ศสม.และรพ.สต. เขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่ 8 จังหวัด จำนวนศสม. (แห่ง) ขนาด รพสต.(แห่ง) รวม (แห่ง) ใหญ่ กลาง เล็ก อุดรธานี 6 44 138 27 215 หนองคาย 2 11 55 8 76 บึงกาฬ 1 7 43 62 หนองบัวลำภู 9 67 85 เลย 77 42 129 สกลนคร 32 127 23 188 นครพนม 3 151 155 22 111 910
เป้าหมายดำเนินการพัฒนา ศสม.และรพ.สต. ปี 2556 เป้าหมายดำเนินการพัฒนา ศสม.และรพ.สต. ปี 2556 จังหวัด จำนวนศสม. (แห่ง) ขนาด รพสต.(แห่ง) รวม (แห่ง) ใหญ่ กลางและเล็ก อุดรธานี 6 44 43 93 หนองคาย 2 11 20 33 บึงกาฬ 1 7 19 27 หนองบัวลำภู 9 25 36 เลย 47 56 สกลนคร 32 81 นครพนม 3 63 67 22 111 260 393
ช่องทางการติดต่อสื่อสาร เข้าเว็บไซต์ www.google.com พิมพ์คำว่า ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 เลือกงานพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการในเครือข่าย EQA-HIV NEONATAL SCREENING โครงการพัฒนาระบบคุณภาพ รพ.สต.
ช่องทางการติดต่อสื่อสาร การติดต่อสื่อสาร ทางจดหมายอิเล็คทรอนิคส์ (E-mail) E-mail : jintanaw005@hotmail.com : jintana.w@dmsc.mail.go.th การติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์/โทรสาร หมายเลขโทรศัพท์ : 0 4220 7364-66 ต่อ 108-109 : 0 4220 7369(สายตรง) : 08 8549 0596 , 09 0197 6483 หมายเลขโทรสาร : 0 42207 367,0 4220 7369 รายชื่อผู้ประสานงาน ทนพญ.จินตนา ว่องวิไลรัตน์ นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการพิเศษ โทร 08 6219 2891 นายสุพัฒชัย ปราบศตรู นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ โทร 08 1053 1261 น.ส.วรัญชนก ครุฑราช เจ้าพนักงานธุรการ โทร 08 1799 3675