สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Advertisements

การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
หมวด2 9 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา

แผนที่จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่ 20,493.96 ตารางกิโลเมตร 32 อำเภอ 289 ตำบล 3,743 หมู่บ้าน ทิศเหนือ ติดต่อชัยภูมิและขอนแก่น ทิศใต้ ติดต่อกับปราจีนบุรี นครนายก และสระแก้ว ทิศตะวันออก ติดต่อกับบุรีรัมย์ และ ขอนแก่น ทิศตะวันตก ติดต่อกับสระบุรี และลพบุรี

หลักแผนยุทธศาสตร์สาธารณสุข สสจ.นม ปี 2553 2.การแปลงยุทธศาสตร์ส่การปฏิบัติ หรือการวางแผนปฏิบัติการ (Annual performance) 1.การพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ (Strategie Plan) 4.การประเมินผลสำเร็จ (Program Evaluation) 3.การรายงาน ติดตาม กำกับ ( Accountability Report)

ปัญหา กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์สาธารณสุข จ.นครราชสีมา ประจำปี 2553 และ 4 ปี (2553-2556) จัดลำดับความ สำคัญของปัญหา ข้อมูล สถานะ สุขภาพ SWOT,PMQA BSC,KPI กรมๆ ข้อเสนอ กลุ่มต่างๆ ปัญหา เป้าประสงค์ STRATEGIC KPI ค่านิยม วัฒนธรรม องค์กร แผนงาน /โครงการ ทิศทาง /นโยบาย ข้อมูลปัญหา พื้นที่ RBM RBM/AAR รายงาน ควบคุม กำกับ/ประเมินผล Data/Information

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประเมินผล จังหวัดนครราชสีมา ประจำปี 2553

2.การรับการตรวจราชการฯ 3.การประเมินผลงาน 4.การวิจัยพัฒนา 1.การนิเทศงานฯ 2.การรับการตรวจราชการฯ 3.การประเมินผลงาน 4.การวิจัยพัฒนา

1.การนิเทศ งานฯ 2.การตรวจ ราชการฯ 3.การประเมินผลงาน 4.การวิจัยพัฒนา

วิจัยเพื่อพัฒนางาน การหาคำตอบเชิงลึก การประเมินผล การนิเทศงานฯ การตรวจราชการฯ การประเมินผล เพื่อวัดผลงาน และพัฒนางาน การหาคำตอบเชิงลึก วิจัยเพื่อพัฒนางาน

1. การนิเทศงานฯ

1.1 ทีมนิเทศงาน จำนวน 4 ทีม ผู้นิเทศประกอบด้วย จำนวน 4 ทีม ผู้นิเทศประกอบด้วย 1. ผู้ช่วยนพ.สสจ. (เป็นประธาน) 2. หัวหน้ากลุ่มงาน/หัวหน้างานที่ได้รับการ คัดเลือกจากหัวหน้ากลุ่ม(ตัวจริงเสียงจริง) 3. เลขาทีมฯ

1.2 จำนวนครั้งการนิเทศงานฯ ปีละ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เดือน ธันวาคม 2552 ครั้งที่ 2 เดือน พฤษภาคม 2553

1.3 การเตรียมการนิเทศ กลุ่มงานต่างๆจัดทำคู่มืองานตามแผนยุทธศาสตร์ กลุ่มงานต่างๆประชุมชี้แจงผู้นิเทศในกลุ่ม เพื่อให้การประเมินเป็นไปในทิศทางเดียวกัน กลุ่มงาน พย.ประชุมชี้แจงผู้นิเทศ และ กำหนดวัน เวลา ขั้นตอนการนิเทศ

1.4 วิธีการนิเทศงาน CUP นำเสนอผลการดำเนินงานที่ตกเกณฑ์ ผู้นิเทศสุ่มนิเทศ สอ./รพ.สต. ผู้นิเทศงานลงนิเทศในรพช.และสสอ. เสนอแนะ วิธีดำเนินงานเพื่อแก้ไขตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ์ สรุปผลการนิเทศให้ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ได้รับทราบ พร้อมตอบถามข้อสงสัย

1.5 สรุปผลการนิเทศงาน จัดเวทีประชุมสรุปผลการนิเทศเพื่อให้ผู้บริหารจังหวัดได้รับทราบปัญหาและหาแก้ไข แจ้งสรุปผลการนิเทศงานให้พื้นที่ทราบ กำหนดแนวทางในการนิเทศครั้งต่อไป

2. การรับการตรวจ ราชการกระทรวง สาธารณสุข

2.1 การรายงานผลการดำเนินงาน ทาง E-File ( E-INSPECTION) 2.2 การรับการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข

2.1 การรายงานผลการดำเนินงานทาง E-File ( E-INSPECTION) 1. ประชุมกลุ่มงานฯ เพื่อชี้แจงตัวชี้วัดของกระทรวงฯ และกำหนดผู้รับผิดชอบ 2.กำกับติดตามการกรอกรายงาน และวิเคราะห์ตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ์นำเสนอในที่ประชุมผู้บริหารสสจ. ทุกเดือน 3.สรุปผลการดำเนินงานทุกไตรมาส

2.2 การรับการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 1. กลุ่มงานฯ ประสานการจัดทำเอกสารการ ตรวจราชการฯกับกลุ่มงาน และจัดทำ PP นำเสนอ 2.จัดเวทีนำเสนอผลการดำเนินงานฯของกลุ่มงาน เพื่อการปรับปรุงแก้ไข/บูรณาการ(อาจมากกว่า 1 ครั้ง) 3.กลุ่มงานฯ จัดทำเอกสารรูปเล่มการตรวจราชการ ,PP นำเสนอผลงาน

2.2 การรับการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 4.กลุ่มงานฯ ประสานทีมตรวจราชการฯ และพื้นที่รับการตรวจราชการฯ 5.สรุปผลการตรวจราชการฯ แจ้ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

3. การประเมินผล

3.1 การประเมินผลเพื่อวัดผลงาน 3.2 การประเมินผลเพื่อพัฒนางาน รูปแบบการประเมินผล 3.1 การประเมินผลเพื่อวัดผลงาน 3.2 การประเมินผลเพื่อพัฒนางาน

3.1 การประเมินผลเพื่อวัดผลงาน รูปแบบการประเมินผล 3.1 การประเมินผลเพื่อวัดผลงาน

การประเมินผลเพื่อวัดผลงาน 1.นำมาใช้ในการพิจารณาความดีความชอบ ผู้บริหาร (รพช สสอ. ) 2.นำมาใช้ในการคัดเลือกผู้บริหาร และ เลื่อนระดับผู้บริหาร 3.นำมาใช้ในการสนับสนุนเงินเดือนส่วนเพิ่ม 4.นำมาใช้ในการจัดสรรโบนัส,เงิน PP

3.1 การแบ่งขนาดอำเภอ 1.ประชากร 2.จำนวน สอ. 3.การมี รพ. แบ่งอำเภอเป็น 3 ขนาด อำเภอขนาดใหญ่ จำนวน 10 แห่ง อำเภอขนาดกลาง จำนวน 10 แห่ง อำเภอขนาดเล็ก จำนวน 12 แห่ง โดยพิจารณาจาก 1.ประชากร 2.จำนวน สอ. 3.การมี รพ.

3.2 ทีมประเมินผล แบ่งเป็น 3 ทีม ผู้ประเมินฯประกอบด้วย 1.หัวหน้างานและนักวิชาการที่ได้รับการ คัดเลือกจากหัวหน้ากลุ่มงาน (อย่างน้อย 2 คนต่อกลุ่มงาน ) 2. เลขาทีมฯ จากกลุ่มงาน พย.

3.3 ขั้นตอนการประเมินผล 1.กำหนดเกณฑ์ประเมินผล โดยมีคณะกรรมการพิจารณาเกณฑ์ *คกก.พิจารณาเกณฑ์ ระดับรพช. *คกก.พิจารณาเกณฑ์ ระดับ สสอ. * คกก.พิจารณาเกณฑ์ ระดับ สอ. 2.ประชุมชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ให้กับผู้ประเมินเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน

3.3 ขั้นตอนการประเมินผล (ต่อ) 3.แจ้งเกณฑ์ประเมินให้ผู้รับการประเมินทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน 4.ดำเนินการประเมินผล โดยออกประเมิน 2 ครั้งต่อปี (กพ/กค) 5.นำผลการประเมินมาจัดระดับ A B C (อิงกลุ่ม) และรายงานผลในที่ประชุมผู้บริหาร

3.2 การประเมินผล เพื่อพัฒนางาน รูปแบบการประเมินผล 3.2 การประเมินผล เพื่อพัฒนางาน

การประเมินผลเพื่อพัฒนางาน ดูจาก 1.ระบบรายงานประจำ รายงาน SR2 ,รง.504 , รง.505 , รง506 , 0110รง5ฯลฯ)

การประเมินผลเพื่อพัฒนางาน (ต่อ) 2. รายงานการประเมินผลตามยุทธศาสตร์ (ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์) - ประเมินผลจากผลการรายงานข้อมูลเป็นรายไตรมาส จากอำเภอมายังศูนย์ข้อมูล สสจ.นม - ระยะเวลาการรายงาน ไตรมาสที่ 2 รายงานผลภายในวันที่ 10 เม.ย 53 (6 เดือน) ไตรมาสที่ 3 รายงานผลภายในวันที่ 10 ก.ค 53 (9 เดือน) ไตรมาสที่ 4 รายงานผลภายในวันที่ 10 ต.ค 53 (12 เดือน)

การประเมินผลเพื่อพัฒนางาน (ต่อ) 3.การประเมินผล แผนงาน/โครงการ โดยใช้หลัก AAR 4. ติดตามผลการดำเนินงานในที่ประชุมผู้บริหารประจำทุกเดือน เช่น ให้อำเภอ/กลุ่มงาน นำเสนอผลการดำเนินงานหรืองานเด่นหรือมีปัญหา

การประเมินผลเพื่อพัฒนางาน (ต่อ) 5. ติดตามผลการดำเนินงานจากโปรแกรมการติดตามผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด (โปรแกรม การติดตามการใช้จ่ายงบประมาณและผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด จังหวัดนครราชสีมา )

ผลการประเมินของกลุ่ม แบบฟอร์มการทำ After Action Review สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา ลำดับ ชื่อกิจกรรม ผลการประเมินของกลุ่ม 1. วัน เวลา สถานที่ทำกิจกรรม 2. ลักษณะของกิจกรรมโดยสรุป 3. อะไรคือสิ่งที่คาดหวังจากกิจกรรม ? (วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ความคาดหวัง) 4. ผลที่เกิดขึ้นเป็นไปตามที่คาดหวังอย่างไร? (อะไรที่ทำได้ดี อะไรที่ยังทำได้ไม่ดี) สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว สิ่งที่ยังทำได้ไม่ดี 5. บทเรียนที่ได้จากการทำกิจกรรมนี้ (เพราะเหตุใดผลจึงเป็นเช่นนั้น) จุดแข็ง จุดอ่อน 6. งบรับ-จ่ายจากการทำกิจกรรมนี้ ประมาณการ รับจ่ายอะไรอย่างไร รับ : จ่าย: 7. ข้อเสนอแนะที่เฉพาะเจาะจง (SARs) 8. รายชื่อผู้เข้าร่วมทำ AAR ครั้งนี้

4. การวิจัยพัฒนา

วิจัยเพื่อพัฒนางาน การหาคำตอบเชิงลึก การประเมินผล เพื่อวัดผลงาน

“การสำรวจสภาวะสุขภาพของประชาชนจังหวัดนครราชสีมาปี2550” งานวิจัยเพื่อพัฒนา วิจัยสุ่มสำรวจสถานะสุขภาพ (Rapid Survey) ดำเนินการทุก5 ปี “การสำรวจสภาวะสุขภาพของประชาชนจังหวัดนครราชสีมาปี2550” ดำเนินสำรวจในประชากรทุกกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลในการสำรวจ : ข้อมูลทั่วไป พฤติกรรมเสี่ยงได้แก่ อาหาร กิจกรรมทางกาย การสูบบุหรี่ การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง อุบัติเหตุ การบาดเจ็บ การใช้ยา สุขภาพจิต

งานวิจัยเพื่อพัฒนา 2.“วิจัยประเมินผลการปฏิบัติงานของ สาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลชุมชน ” 3.“วิจัยประเมินผลโครงการควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่”

ประโยชน์ นำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนา แผนยุทธศาสตร์ปีต่อไป จัดทำรายงานประจำปี หาคำตอบเชิงลึกในการพัฒนางาน และนำมาสู่การจัดการความรู้และการทำวิจัย

1.การนิเทศ งานฯ 2.การตรวจ ราชการฯ 3.การประเมินผลงาน 4.การวิจัยพัฒนา

Thank you