National Health Foundation

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
Advertisements

สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
Burden of Disease Thailand, 2009
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
เศรษฐกิจพอเพียง.
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
กลุ่มเศรษฐกิจ ภาวการงาน ( มีการจ้างงาน ไร้อาชีพ เป็นทหาร ) อาชีพ
การมีภาวะเจริญพันธุ์ลดลง
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
การดำเนินงานสาธารณสุขจากอดีตถึงปัจจุบัน
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ปัญหาสุขภาพจิตและ ฆ่าตัวตายจังหวัดเชียงราย
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต ของโรงพยาบาลชุมชน ในปีงบประมาณ 2553
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ภูษิต ประคองสาย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP)
The Future Challenges and Policy Elaboration นพ. โกเมนทร์ ทิวทอง.
สรุปสาระเวทีประชุม โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพครั้งที่ 7.
เทรนด์ “สุขภาพโลก” ในปี 2555
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
สร้างแกนนำหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี พฤศจิกายน 2557 โรงแรมเรือนแพ รอยัลปาร์ค พิษณุโลก.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั่วประเทศ 142,234 แห่ง เป้าหมายการดำเนินงานอาหารสะอาด รสชาติ อร่อย ปี 2549 ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้ มาตรฐาน 60%
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
Health Promotion In Thailand
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
Burden of Diseases (BOD) Disability Adjusted Life Years(DALY)
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

National Health Foundation Health Measurement From outcome to system Somsak Chunharas Secretary General National Health Foundation

Measuring health development Health outcome = classic set Diseases burden (DALY) = diseases “outcome” Quality of life (comprehensive “outcome” definition, multi-sectoral dimension) Health (care) system performance/development Social determinants of health (+equity concern) 24-09-08 health measurement

Life expectancy at Birth Year Male Female 1995 - 2000 67.36 71.74 2000 - 2005 68.15 72.39 2005 - 2010 68.86 73.00 Source: National Population Estimates, 1990 - 2020: National Economic and Social Development Board, 2003. 24-09-08 health measurement

Life expectancy, 2004 Life expectancy Male Female At birth 66.1 74.1 At 60 years 18.0 20.9 At 80 years 10.0 10.2 24-09-08 Source: Population Gazette, 2005, IPSR Mahidol health measurement

Crude death rate, 1980-2015 Source: UN, World Population Prospects, The 2000 Revision 24-09-08 health measurement

Crude death rates, with and without HIV/AIDS, 1985-2010 Source: Rhucharoenpornpanich and Chamratrithirong , http://203.155.220.217/office/aids/aidsbase/demographic.htm 24-09-08 health measurement

Reference: Thailand Health Profile, (Wibulpholprasert et al, 2004). Total fertility rate, 1964-2030 24-09-08 health measurement Reference: Thailand Health Profile, (Wibulpholprasert et al, 2004).

Infant Mortality Rate, 1964-2020 24-09-08 health measurement Reference: Thailand Health Profile, (Wibulpholprasert et al, 2004).

Population growth rate, 1970-2020 24-09-08 health measurement Reference: Thailand Health Profile, (Wibulpholprasert et al, 2004).

24-09-08 health measurement

The morbidity burden in Disability Adjusted Life Year (DALYs) by sex and disease group, in Thailand 1999 24-09-08 health measurement

24-09-08 health measurement

BOD Thailand 1999 1 HIV/AIDS 960,087 17% 372,947 9% 2 Traffic accidents 510,907 Stroke 280,673 7% 3 267,567 5% Diabetes 267,158 4 Liver cancer 248,083 4% Depre ssion 145,336 5 168,372 3% 118,384 6 Ischaemic heart disease 164,094 Osteoarthritis 117,994 7 COPD (emphysema) 156,861 114,963 8 Homicide and violence 156,371 Anaemia 112,990 9 Suicides 147,988 109,592 10 Drug dependence/ Harmful use 137,703 2% Cataracts 96,091 Rank Disease category MALE Daly's loss % FEMALE 24-09-08 health measurement

BOD Thailand 1999 Rank Disease category MALE Daly's loss % FEMALE 11 Alcohol dependence/harmful use 130,654 2% COPD (emphysema) 93,387 12 Cirrhosis 117,527 Deafness 87,612 13 Lung cancer 106,120 Lower respiratory tract infections 84,819 14 Drownings 98,464 Low birth weight 83,879 15 Depression 95,530 Dementia 70,191 16 Osteoarthritis 93,749 Anxiety disorders 66,835 17 Tuberculosis 93,695 Schizophrenia 60,800 18 93,497 60,643 19 91,934 Birth trauma & asphyxia 57,488 1% 20 Anaemia 87,610 Nephritis & nephrosis 55,258 24-09-08 health measurement

Major Health Risk and BOD 24-09-08 health measurement

Summary of Classic Approach LE (HALE?) DALY Unfinished agenda (selected diseases – diarrhea/dengue/Tbc, MCH) Emerging agenda (emerging diseases, workers, elderly, disable) Major risk factors based on DALY 24-09-08 health measurement

QOL individual level Mobility Self care Pain and comfort Cognition Interpersonal activities Vision Sleep and energy Affect Domains in world health survey 2002-2003 WHO Household survey 24-09-08 health measurement

QOL (multi-sectoral) จปฐ 6 หมวด 36 ตัวชี้วัด 1. สุขภาพดี 11 ตัวชี้วัด 2. มีบ้านอาศัย 8 ตัวชี้วัด 3. ฝักใฝ่การศึกษา 6 ตัวชี้วัด 4. รายได้ก้าวหน้า 3 ตัวชี้วัด 5. ปลูกฝังค่านิยมไทย 5 ตัวชี้วัด 6. ร่วมใจพัฒนา 4 ตัวชี้วัด 24-09-08 health measurement

7 strategies for Healthy Thailand participation, communication, strengthening and creating public mind, services, social measures, knowledge and learning, and result-based management. 24-09-08 health measurement

วิสัยทัศน์เมืองไทยแข็งแรง National Agenda 18 December 2004 คนไทยอยู่เย็นเป็นสุขทั้งกาย ใจ สังคม และปัญญา สามารถดำรงชีพบนพื้นฐานความพอดีพอประมาณอย่างมีเหตุผล ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีสัมมาชีพทั่วถึง มีรายได้ ทำงานด้วยความสุข มีครอบครัวที่อบอุ่น มั่นคง อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ ชีวิตและทรัพย์สิน เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และเกื้อกูล มีสุขภาพแข็งแรง และอายุยืนยาว National Agenda 18 December 2004 24-09-08 health measurement

เป้าหมาย 17 ด้านของ Healthy Thailand 1.คนไทยมีความฉลาดทางสติปัญญา(I.Q) และความฉลาดทางอารมณ์(E.Q) เพิ่มมากขึ้นในระดับที่ต้องไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานสากล    2.คนไทยที่มีอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อสุขภาพในทุกหมู่บ้าน ทุกตำบล ทุกชุมชน ทุกหน่วยงาน และสถานประกอบการ    3.คนไทยทุกคนได้รับการศึกษา ในระบบโรงเรียนไม่น้อยกว่า 12 ปี และมีโอกาสเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิตเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและเกิดทักษะทางสุขภาพ(Health Skill) และทักษะการดำเนินชีวิตอย่างเหมาะสม(Life Skill)    4.คนไทยมีครอบครัวที่อบอุ่น เด็กและผู้สูงอายุได้รับการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัว    5.คนไทยมีอายุขัยเฉลี่ยยืนยาวขึ้นพร้อมสุขภาพที่แข็งแรง อัตราการป่วย และตายด้วยโรคที่เป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ของคนไทยลดน้อยลงอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคไข้เลือดออก โรคในช่องปาก และโรคเบาหวาน    24-09-08 health measurement

เป้าหมาย 17 ด้านของ Healthy Thailand 6.คนไทยทุกคนมีหลักประกันการเข้าถึงบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน   7.คนไทยได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย มีคุณค่าทางโภชนาการ และเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายจากแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษปนเปื้อน ตลาดสด ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทุกแห่งได้มาตรฐานสุขอนามัย สถานที่ผลิตอาหารทุกแห่งผ่านหลักเกณฑ์วิธีการผลิตที่ดี(GMP)    8.คนไทยลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกฮอล์ และยาสูบ    9.คนไทยมีอัตราการบาดเจ็บ และตายด้วยอุบัติเหตุลดน้อยลง    10.คนไทยมีอัตราการฆ่าตัวตาย ตลอดจนการป่วยด้วยโรคทางจิตประสาท ลดน้อยลง    11. คนไทยมีความปลอดภัย จากอาชญากรรม และความรุนแรง ที่ก่อให้เกิดการ ประทุษร้ายต่อชีวิต ร่างกาย และจิตใจ การประทุษร้ายทางเพศ และกระประทุษร้ายต่อทรัพย์สิน 24-09-08 health measurement

เป้าหมาย 17 ด้านของ Healthy Thailand    12.คนไทยมีสัมมาชีพ และมีรายได้ที่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตอย่างปกติสุข    13.คนไทยมีที่อยู่อาศัยที่ถูกสุขลักษณะ มีน้ำสะอาดเพื่ออุปโภคบริโภคเพียงพอ และดำรงชีวิตในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี    14.คนไทยลด ละ เลิกอบายมุข และสิ่งเสพติด    15.คนไทยมีความรู้ รักสามัคคี มีความอาทรเกื้อกูลกัน    16.คนไทยมีสติและปัญญาแก้ไขปัญหาความขัดแย้งรุนแรงต่างๆ ด้วยเหตุผล และด้วยสันติวิธี    17.คนไทยยึดมั่นในหลักศาสนธรรมและวัฒนธรรมที่ดีงาม 24-09-08 health measurement

Relations between functions and objectives of a health system 24-09-08 health measurement

From Functions to Health System Outcomes 24-09-08 health measurement 25

hsc.csu.edu.au/.../improving/3-2/3-2-3/view.gif 24-09-08 health measurement Road and traffic related injuries Social determinants hsc.csu.edu.au/.../improving/3-2/3-2-3/view.gif

Dahlgren G, and Whitehead M in the Acheson Report (1998) 24-09-08 http://www.ruralhealthgoodpractice.org.uk/admin/uploaded_files/social_and_community_networks.gif health measurement

Figure 1 demonstrates one way of representing the interaction between lifestyle, cultural and socio-economic conditions, crime, education, housing, transport, employment issues and health. The present (Australian) government have accepted that some of the wider determinants of health are: Poverty Employment Education Housing Accidents Social Capital 24-09-08 health measurement

24-09-08 health measurement

เมืองน่าอยู่ เอกลักษณ์ ลักษณะ WHO 24-09-08 health measurement คนสุขภาพดี เจ็บป่วยน้อย เสมอภาค/สะดวก ในการเข้าถึงบริการสุขภาพ สภาพแวดล้อม ที่อยู่อาศัยสะอาด - ปลอดภัย ลักษณะ เมืองน่าอยู่ การพัฒนา กลมกลืนอดีต เศรษฐกิจหลากหลาย มีชีวิตชีวา เอกลักษณ์ ความเชื่อมโยง ทางวัฒนธรรม ระบบนิเวศน์สมดุล ความจำเป็น พื้นฐานพอเพียง WHO ชุมชนเข็มแข็ง ประชาชนมีส่วนร่วม ควบคุม-กำหนด-ตัดสินใจ การเข้าถึงการรับรู้ ข้อมูล/ข่าวสาร/การติดต่อ 24-09-08 health measurement

Equity determinants/differential Table 2: Dimensions of health to consider when comparing more and less advantaged social groups Dimensions of health Health status, including disease, mortality, quality of life Access to and utilisation of health care services Health care financing and resource allocation Quality of health care delivery in various categories, (e.g., MCH, communicable diseases, trauma, mental health) Access/exposure to underlying health determinants - Water/sanitation - Nutrition/food security - Formal education - Environmental or occupational hazards - Behavioural risk factors The consequences of poor health on social and economic status Social groups to compare Socio-economic (rich / poor; level of education; occupation) Race and / or ethnicity Religion Language Gender Geography (rural / urban; regions; slums/ other urban areas) National origin Sexual orientation Age Disability Other social groups that are excluded or marginalized Equity determinants/differential • Socio-economic status (reflected by income, expenditures, accumulated economic assets, occupation, or education level) • Race/ethnicity, religion, and/or language • Gender • Geography (e.g. urban–rural, or different provinces, districts, villages, or urban neighbourhoods) 24-09-08 health measurement

Equity determinants/differentials • National origin (e.g. comparing immigrants/refugees with local nationals) • Age (e.g. the elderly and children experience social disadvantage in many societies) • Sexual orientation • Disability (including direct effects of physical or mental disabilities as well as societal attitudes that lead to further social and/or economic exclusion) • Other characteristics that define marginalised or disempowered populations. 24-09-08 health measurement

Indicators for equity gauge • Health outcomes e.g., illness/disease/injury rates, mortality rates, quality of life, and major risks to health • Health care financing and health care resource allocation • Access to and utilization of health care services (actual use of recommended services is the most valid way to measure access) • Quality of health care services • Access/exposure to underlying determinants of health, e.g., poverty, nutrition and food security, behavioural risk factors such as smoking and unprotected intercourse, and exposure to occupational or environmental hazards • Social and economic consequences of ill health, e.g. impoverishment due to ill health, or economic exclusion or stigmatisation due to HIV infection. 24-09-08 health measurement

ทิ้งท้าย วัดแค่ผลสำเร็จนโยบายรัฐบาลวัดไม่ยาก โดยเฉพาะนโยบายที่มีลักษณะเป็น แผนงานโครงการมากกว่า “ นโยบาย” ในความหมายที่แท้จริง วัด health outcome ก็ไม่ยาก มีตัวชี้วัดมาตรฐานอยู่ไม่น้อย วัด comprehensive health outcome (3/4 dimensions) น่าท้าทาย => เทียบกับ การวัด คุณภาพชีวิต หรือวัดความสุข วัด คุณเท่าเทียมยิ่งยากขึ้นไปอีก วัด ความเข้มแข็งของ “ระบบสุขภาพ” ยากกว่ามาก 24-09-08 health measurement

ยากที่สุดคือทำให้ผลการวัดถูกนำไปใช้ประโยชน์ อย่างจริงจัง (ไม่ใช่แค่ โฆษณา) 24-09-08 health measurement

ขอบคุณ 24-09-08 health measurement