น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
Advertisements

วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
Research Mapping.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
กลุ่มพัฒนาระบบทันตสาธารณสุข งบประมาณ ปี การส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กวัยเรียน โครงการจัดทำชุดความรู้ประสบการณืการจัด กิจกรรมของครู โครงการจัดการความรู้
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย ทิศทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย

บริบท สถานการณ์สุขภาพ : โรคอุบัติใหม่ ภัยพิบัติ สิ่งแวดล้อม สารพิษ เศรษฐกิจโลก/ประเทศ : เข้าสู่ภาวะถดถอย การเมืองไทย : รัฐบาลใหม่ นโยบาย ? พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือน : การบริหารบุคคลแนวใหม่ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ : ธรรมนูญสุขภาพ ? การนำเสนอประกอบด้วย ปัญหาสาธารณสุขในปัจจุบัน ระบบสุขภาพแห่งชาติและกลไกที่เปลี่ยนแปลง แนวคิดการการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและบทบาทหลักของกรมอนามัยในการจะสนับสนุนการดำเนินงานของพื้นที่ และยุทธศาสตร์กรมอนามัยในปี 2551

ระบบสุขภาพ หน่วยงานส่วนภูมิภาค องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครม. รัฐสภา สภาพัฒน์ฯ ครม. สภาที่ปรึกษา ธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ สช. สสส. สวรส. กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงอื่นๆ ที่ทำงาน เกี่ยวข้องกับสุขภาพ สปสช. เครือข่าย ประชาคมและภาคีสุขภาพ ระบบสุขภาพแห่งชาติและกลไกที่เปลี่ยนแปลง จะเห็นได้ว่าทุกหน่วยงานองค์การต้องปรับตัวให้เข้ากับบทบาทใหม่ โดยเฉพาะหน่วยงานภูมิภาคในพื้นที่ที่จะต้องดำเนินการเพื่อการแก้ไขปัญหาของพื้นที่เอง อปท. หน่วยงานส่วนภูมิภาค เครือข่าย วิชาการ วิชาชีพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่าย สื่อมวลชน เครือข่ายอื่นๆ

กฎบัตรกรุงเทพ (กลยุทธ์ในการส่งเสริมสุขภาพ) พัฒนาความเข้มแข็งและสร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่าย (Partner) ลงทุน (Invest) เพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบงานให้ได้มาตรฐานและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์องค์กร พัฒนากระบวนการกำหนดและบริหารนโยบายสาธารณะและกฎหมายด้านสุขภาพ (Regulate and Legislate) จากฐานความรู้ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและวิถีชีวิตคนไทย ชี้นำและให้ข่าวสารสาธารณะ (Advocate) เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน พัฒนาศักยภาพบุคลากร (Build Capacity) ให้เป็นมืออาชีพและทันต่อการเปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ในการส่งเสริมสุขภาพจากกฎบัตรกรุงเทพ คือ การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ส่งเสริมให้เกิดการลงทุน พัฒนากระบวนการบริหารนโยบายสาธารณะและกฎหมาย การให้ข่าวสารและชี้นำแก่สาธารณะ รวมทั้งพัฒนาศักยภาพบุคลากร

ยุทธศาสตร์กรมอนามัย ปี 2551 พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก... โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น... โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย ... คนไทยไร้พุง ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ... ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ & ฟันเทียมพระราชทาน พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ ... เมืองน่าอยู่ ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ... ส้วมคุณภาพ งานตามพันธกิจ

โรคฟันผุในเด็ก (ความชุก) ร้อยละ 3 ปี 12 ปี 1.5 ปี ที่มา : การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพจังหวัดรายปี ปี 2546-2550

การสูญเสียฟันทั้งปากในผู้สูงอายุ ร้อยละ ที่มา : การสำรวจทันตสุขภาพแห่งชาติ

การแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ขนาดของปัญหา & การกระจาย สาเหตุ/ปัจจัย แนวโน้ม ประเมินสถานการณ์ทางสาธารณสุข ปัญหาสาธารณสุข กลวิธี/มาตรการแก้ไขปัญหา ติดตามและประเมินผล ส่งเสริมสุขภาพ ระบบ กลไก เครื่องมือ ป้องกัน/แก้ไขสาเหตุ ผลลัพธ์ การแก้ไขปัญหาสาธารณสุขนั้นมีการทำงานเป็นวงจรดังนี้ บริหารจัดการ รักษา จัดหา/จัดสรรทรัพยากร ประสานความร่วมมือ ความครอบคลุม

บทบาทหลัก 6 ด้านของกรมอนามัย (6 Keys Functions) Organization Development R & D M&E Knowledge Consumer Protection Healthy People Thailand Management Provider Support Information Funder Alliance Surveillance M & E Human Resource Development

ประเมินสถานการณ์ทางสาธารณสุข บทบาทหลักกรมอนามัยเพื่อสนับสนุนพื้นที่ (6 Keys Functions) พัฒนาระบบเฝ้าระวังฯวิเคราะห์และนำผลไปใช้ ประเมินสถานการณ์ทางสาธารณสุข Surveillance วิจัยและพัฒนา องค์ความรู้/เทคโนฯ R & D กลวิธี/มาตรการแก้ไขปัญหา ประสานแหล่งทุน สปสช. สสส Funder Alliance บริหารจัดการ พัฒนามาตรฐาน, สื่อสารสาธารณะ Consumer Protection จากกฎบัตรกรุงเทพ วงจรการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข และบทบาทใหม่ของพื้นที่ กรมอนามัยเองก็ปรับบทบาทหลักที่จะทำงานเพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนการทำงานของพื้นที่ดังนี้ Provider Support พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย ติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบรายงาน M & E พัฒนาวิธี/ระบบประเมินผลงาน

บทบาทหลัก 6 ด้านของกรมอนามัย (6 Keys Functions) New knowledge: concept, behavior α Oral diseases Intervention: Fluoride vanish Networking system: consumption, tobacco control, sealant R & D Knowledge KM M&E Information Oral health survey : OH status, Behavior Health & welfare survey : dental care utilization Fluoride mapping : natural source, toothpaste Surveillance

ระบบ กลไก เครื่องมือ ผลลัพธ์ทางสุขภาพ บทบาทหลัก 6 ด้านของกรมอนามัย (6 Keys Functions) M & E ระบบ กลไก เครื่องมือ ผลลัพธ์ทางสุขภาพ Management ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล

"ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี" กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี" www.anamai.moph.go.th.