สถานการณ์โรคไข้เลือดออก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
Advertisements

WAR ROOM โรคไข้เลือดออก วันที่ 3 กันยายน 2556
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
10 ลำดับโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
สถานการณ์โรคโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
สถานการณ์การดำเนินงาน พัฒนาส้วมสาธารณะติด ดาว ของ รพ. สต. ปีงบประมาณ 2556.
ไข้เลือดออก.
โรคที่ต้องควบคุมโรคอย่างเร่งด่วน ประจำเดือนตุลาคม 2549 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ข้อมูล ณ 20 มิถุนายน 2550 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2551 Darunee Phosri :
สถานการณ์โรค ไข้เลือดออก
สิ่งที่เรียนรู้จากการควบคุมโรคไข้เลือดออกในปีที่ผ่านมา
ผู้ป่วยไข้เลือดออกจังหวัด กำแพงเพชร ปี 2556 พบผู้ป่วย 484 ราย อัตราป่วย ต่อแสน พบผู้ป่วย เสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.21 ข้อมูล ณ 23 มิถุนายน.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สาขาโรคมะเร็ง.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดตรัง

ข้อมูลไข้เลือดออกประเทศไทย ตั้งแต่ 1 ม.ค. – 30 มี.ค. 2556 ได้รับรายงาน 17,973 ราย อัตราป่วย 28.05 ต่อแสนปชก. เสียชีวิต 19 ราย อัตราตาย 0.016 ต่อแสนปชก. (สงขลา 6 ราย ,นครศรีธรรมราช 2 ราย , สุรินทร์ 2 ราย สมุทรปราการ 2 ราย ,กรุงเทพฯ 1 ราย ,เชียงใหม่ 1 ราย ,นครปฐม 1 ราย ,ยะลา 1 ราย ,ปัตตานี 1 ราย ประจวบคีรีขันธ์ 1 ราย ,ระยอง 1 ราย) จังหวัดตรัง ลำดับที่ 20 ของประเทศ จังหวัด

ข้อมูลไข้เลือดออกเขต 12 ตั้งแต่ 1 ม.ค. – 30 มี.ค. 2556 ได้รับรายงาน 2,742 ราย อัตราป่วย 58.21 ต่อแสนปชก. มีรายงานผู้เสียชีวิต 8 ราย (สงขลา 6 ราย ยะลา 1 ราย ปัตตานี 1 ราย) อัตราป่วยต่อแสน จังหวัด

อัตราป่วยไข้เลือดออกจังหวัดตรัง ปีพ.ศ.2535 - 2556

จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดตรัง จำแนกเป็นรายเดือน ปี 2550 – 2556 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี

ข้อมูลไข้เลือดออก จังหวัดตรัง ตั้งแต่วันที่ 1 – 30 มีนาคม 2556 จำนวน 202 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต อัตราป่วย 32.23 ต่อแสนปชก. มากเป็น 2.38 เท่า ของปี 2555 ในช่วงเวลาเดียวกัน

จำนวนป่วย อัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออกแยกรายอำเภอ รายเดือน จังหวัดตรัง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2555 อำเภอ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม อัตรา เมือง 15 9 16 25 53 43 45 37 22 26 33 340 222.76 กันตัง 3 10 20 17 4 13 2 7 11 6 118 137.61 หาดสำราญ 1 135.58 นาโยง 5 57 131.03 ย่านตาขาว 8 66 104.67 ปะเหลียน 54 81.90 วังวิเศษ 24 57.25 ห้วยยอด 47 50.54 สิเกา 18 49.29 รัษฎา 35.51 30 29 115 101 76 79 36 62 756 120.63

จำนวนป่วย อัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออกแยกรายอำเภอ รายเดือน จังหวัดตรัง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 30 มีนาคม 2556 อำเภอ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม อัตรา เมือง 49 31 17 97 63.55 หาดสำราญ 6 2 1 9 55.47 กันตัง 14 5 8 27 31.49 ห้วยยอด 23 24.73 ปะเหลียน 13 19.72 สิเกา 7 19.17 ย่านตาขาว 3 11 17.45 วังวิเศษ 16.70 นาโยง 4 13.79 รัษฎา 7.10 98 57 47 202 32.23

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก แยกรายอำเภอ ตั้งแต่เดือนมกราคม 2555 – มีนาคม 2556

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก แยกรายอำเภอ ตั้งแต่เดือนมกราคม 2555 – มีนาคม 2556

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก แยกรายอำเภอ ตั้งแต่เดือนมกราคม 2555 – มีนาคม 2556

จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดตรัง จำแนกเป็นรายเดือน ปี 2556 (ณ 30 มีนาคม 2556) เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (2551 – 2555)

อัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออกจำแนกตามกลุ่มอายุ จังหวัดตรัง เปรียบเทียบปี 2554 – 2556 ( ณ วันที่ 30 มีนาคม 2556 )

สัปดาห์การระบาดของโรคไข้เลือดออก ของจังหวัดตรัง สัปดาห์ที่ 1 - 13 ตั้งแต่ 1 มกราคม – 30 มีนาคม 2556

แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค  คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2556 ให้ทุกกระทรวงดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง โดยกำหนดกิจกรรมขั้นต่ำที่ควรเกิดขึ้นในพื้นที่ ดังนี้ ให้ความสำคัญกับโรคไข้เลือดออก หากสถานการณ์ระบาดเกิดขึ้นมากกว่า 2 อำเภอ ให้พิจารณาจัดตั้งศูนย์ปฎิบัติการไข้เลือดออกและพิจารณาประกาศเขตภัยพิบัติ หากมีการระบาดเกิน 4 สัปดาห์ในพื้นที่มากกว่า 2 อำเภอ หน่วยงานในส่วนภูมิภาคของกระทรวงต่างๆ ในจังหวัด เช่น โรงเรียน อบจ./เทศบาล/อบต. จัดกิจกรรมกำจัดลูกน้ำในพื้นที่ อย่างเร่งด่วนตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึง เดือนมิถุนายน 2556 ทีม SRRT ระดับตำบลและอำเภอ เฝ้าระวัง ป้องกัน ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายร่วมกับอสม. และเฝ้าระวังสอบสวนผู้ป่วยตามแนวทางที่กรมควบคุมโรคกำหนด

แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค วิเคราะห์ผลการดำเนินงานของอสม. และข้อมูลที่ได้จากระบบเฝ้าระวังผู้ป่วย เพื่อกำหนดพื้นที่และกิจกรรมเร่งด่วนของอำเภอ จัดหางบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ ให้เพียงพอต่อการควบคุมการระบาดของโรค ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมให้ทุกหน่วยงาน/ประชาชนกำจัดลูกน้ำภายในบ้านทุกสัปดาห์ (5 ป 1 ข) และป้องกันตนเองไม่ให้ยุงกัด โดยใช้ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น เช่น ตะไคร้หอมกันยุง ป้องกันยุงกัด

แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขเขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่ 12 กำหนดให้มีการรณรงค์โรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 1 วันที่ 25 – 31 มีนาคม 2556 ครั้งที่ 2 วันที่ 20 – 27 เมษายน 2556 ครั้งที่ 3 วันที่ 10 – 17 พฤษภาคม 2556 ครั้งที่ 4 วันที่ 10 – 17 มิถุนายน 2556

ขอขอบคุณ