ระบบการเปลี่ยนแปลงจังหวะการเปิด-ปิด ลิ้นอย่างอัจฉริยะ(VVT-I : VARIABLE VALVE TIMING-INTELLIGENCE) ระบบการเปลี่ยนแปลงจังหวะการเปิด-ปิด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การตรวจรถก่อนใช้งาน (Truck Inspection)
Advertisements

ด.ช. ทรงกรต แก่นทองจันทร์ ม. 2/5 เลขที่23
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
วิธีการช่วยป้องกัน สภาวะโลกร้อน.
หินแปร (Metamorphic rocks)
รูดอล์ฟ ดีเซล.
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
ENCODER.
Ultrasonic sensor.
DS30M DUAL FEED GUN.
เมคาทรอนิกส์ MECHATRONICS.
อุปกรณ์ขับเคลื่อนแบบหมุน
แนะนำวิธีการลดการใช้พลังงาน
กันชนรถยนต์ การใช้งานของผลิตภัณฑ์ วัสดุ เทคโนโลยีการขึ้นรูป
ขวดแชมพู รายวิชา เทคโนโลยีพลาสติกอุตสาหกรรม
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
Combined Cycle Power Plant
คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
Centrifugal Pump.
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
การแข่งขันทักษะวิชาชีพครั้งที่ 28
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
Mold Design # 6 การหล่อเย็นแม่พิมพ์(Mold Cooling)
Mold Design # 5 ระบบปลดชิ้นงาน(ejection)
การใช้บอร์ดควบคุมสำหรับ Robot 35 in 1
ระบบหล่อลื่น และระบายความร้อน
การตรวจซ่อม เครื่องยนต์ 4 จังหวะ และเกียร์
ระบบระบายความร้อน ระบบระบายความร้อนมี 2 ประเภทด้วยกันคือ
นำเสนอโดย,,, นายสุวิทย์ เมืองวงศ์
ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
ช่างเทคนิคโตโยต้า>>ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการรักษาตามระยะ
ช่างเทคนิคโตโยต้า >> การบำรุงรักษาตามระยะ
ช่างเทคนิคโตโยต้า >> การบำรุงรักษาตามระยะ
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
เครื่องดูดฝุ่น.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
พัดลม.
อุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะ
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน
ความเสี่ยงด้านอุปกรณ์และเครื่องจักรกล แนวทางการป้องกัน
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
งานเครื่องล่างรถยนต์
ระบบควบคุมอัตโนมัตในงานอุตสาหกรรม
การควบคุมคลัตช์ ด้วยน้ำมัน
งานเครื่องล่างรถยนต์
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
งานเครื่องล่างรถยนต์
มาตรการประหยัดพลังงาน
Foxconn Motherboard.
การตรวจซ่อม ชุดคลัตช์รถยนต์
จุดเด่นของระบบ Versus
AIR SUSPENSION SYSTEM.
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
“เทคโนโลยีดีเซลอีซูซุ” เครื่องยนต์รุ่น 4JJ1-TC ซูเปอร์คอมมอนเรล
ระบบเซนเซอร์ป้องกันล้อล็อกขณะเบรก ผู้จัดทำ นาย ศุภโชค หนองโศรก
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
ปุ่มชงกาแฟ ปุ่มจ่ายน้ำร้อน ปุ่มจ่ายไอน้ำ วาล์วจ่ายไอน้ำ ก้านจ่ายไอน้ำ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
วงจรอัดอากาศรถจักร ALSTHOM
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่องระบบรับและจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงเหนือถังสำหรับระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 6 พฤษภาคม.
โลกและสัณฐานของโลก.
การใช้เครื่องมือวัด ไดอัลเกจ (Dial Gauge)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการเปลี่ยนแปลงจังหวะการเปิด-ปิด ลิ้นอย่างอัจฉริยะ(VVT-I : VARIABLE VALVE TIMING-INTELLIGENCE) ระบบการเปลี่ยนแปลงจังหวะการเปิด-ปิด ลิ้นอย่างอัจฉริยะหรือ VVTออกแบบมาเพื่อควบคุมช่วงจังหวะ การเปิด-ปิด ของลิ้นไอดีได้มากถึง 40 องศา ของมุมเพลาข้อเหวี่ยง เพื่อให้จังหวะการเปิด-ปิดของลิ้นเหมาะ สมกับสภาวะการทำงานของเครื่องยนต์ซึ่งทำให้เพิ่มแรงบิดของเครื่องยนต์ได้ทุกๆช่วง ความเร็วรอบจังหวะ การเปิด-ปิด ลิ้นไอดีที่แท้จริงขณะนั้นจะตรวจจับโดยเซนเซอร์ตำแหน่งเพลาลูกเบี้ยวแล้วส่งสัญญาณไปที่ กล่องควบคุมคอมพิวเตอร์ของเครื่องยนต์ เพื่อควบคุมจังหวะเปิด-ปิด ของลิ้นถูกต้องตามจังหวะเป้าหมายที่ ี่กำหนดไว้ โครงสร้าง                          4.9.1.) ตัวควบคุม VVT-I ประกอบด้วยตัวเรือนที่ถูกขับด้วยโซ่ไทม์มิ่งและข้อต่อกำลังเข้าที่ ใบพัด (Van) ของเพลาลูกเบี้ยวไอดี แรงดันน้ำมันจะส่งมาจากช่องทางน้ำมันด้านล่างหรือด้านล่าช้าที่บริเวณ เพลาลูกเบี้ยวไอดี เป็นผลทำให้ตัวควบคุม VVT-I หมุนรอบๆ ใบพัดเกิดการเปลี่ยนแปลงจังหวะการเปิด-ปิด ลิ้นไอดีอย่างต่อเนื่อง เมื่อเครื่องยนต์ดับเพลาลูกเบี้ยวไอดีจะควบคุมให้อยู่ตำแหน่งล่าช้าที่สุด (Retarded) เพื่อ ให้เพิ่มเสถียรภาพในขณะสตาร์ทเครื่องยนต์                            หลังจากเครื่องยนต์สตาร์ทติดแรงดันน้ำมันไฮดรอลิกจะยังไม่ถูกส่งเข้าไปที่ตัวควบคุม VVT-I และสลักล๊อกจะล๊อกไม่ให้ตัวควบคุม VVT-I หมุน เพื่อป้องกันเสียงดังจากการน๊อค

รูปที่ 4.27 แสดงส่วนประกอบของตัวควบคุม VVT-I  

                              4.9.2.) ลิ้นควบคุมแรงดัน (Oil Control Valve) จะทำหน้าที่ควบคุมตำแหน่งของสพูล วาล์วโดยสัมพันธ์กับสัญญาณควบคุม อัตราส่วนการทำงาน (Duty Control) จาก ECU เครื่องยนต์ ซึ่งจะ ควบคุมทิศทางของแรงดันน้ำมันที่จะส่งไปควบคุมตัวควบคุม VVT-I ให้ไปด้านล่วงหน้าหรือด้านล่าช้า และเมื่อดับเครื่องยนต์ ลิ้นควบคุมแรงดันจะอยู่ในจังหวะช้าที่สุด   รูปที่ 4.28 สพูลวาล์ว

การทำงาน  ลิ้นควบคุมจะเลือกควบคุม VVT-i เลื่อนไปตำแหน่งล่วงหน้า, ล่าช้า หรือยึดอยู่กับที่นั้นขึ้นอยู่กับสัญญาณ จาก ECU เครื่องยนต์ ตัวควบคุม VVT-i จะหมุนเพลาลูกเบี้ยวไอดีไปในนตำแหน่งล่วงหน้า, ล่าช้า หรือยึด อยู่กับที่นั้นขึ้นอยู่กับทิศทางของน้ำมันว่าจะถูกส่งไปทิศทางไหน                            1. จังหวะล่วงหน้า ( Advance ) เมื่อสัญญาณควบคุม( ล่วงหน้า) จาก ECU เครื่องยนต์ถูกส่ง ไปควบคุมลิ้นให้อยู่ตำแหน่งดังรูปข้างล่างแรงดันน้ำมันจะถูกส่งเข้าไปยังห้องใบพัดด้านล่วงหน้าทำให้เพลา ลูกเบี้ยวหมุนไปทิศทางล่วงหน้า                            2. จังหวะล่าช้า ( Retard ) เมื่อสัญญาณควบคุม (ล่าช้า) จาก ECU เครื่องยนต์ถูกส่งไปยังลิ้น ควบคุมแรงดันให้อยู่ตำแหน่งแรงดันดังรูปข้างล่างแรงดันน้ำมันจะถูกส่งเข้าไปยังห้องใบพัดด้านล่าช้าทำให ้เพลาลูกเบี้ยวหมุนไปในทิศทางล่าช้า                           3. ตำแหน่งยึดอยู่กับที่ (Hold) เมื่อเพลาลูกเบี้ยวไอดีถูกเลื่อนไปอยู่ตำแหน่งล่วงหน้าหรือล่าช้า ตามที่ECUเครื่องยนต์คำนวนได้แล้วลิ้นควบคุมจะถูกยึดอยู่ตำแหน่งปิดท่อทางน้ำมันทั้งสองด้านเพื่อไม่ให้ น้ำมันเครื่องไหลออกได้ป้องกันไม่ให้เพลาลูกเบี้ยวขยับไปทางล่วงหน้า, หรือล่าช้าได้                           ECU เครื่องยนต์จะคำนวนจังหวะที่เหมาะสมของลิ้นไอดีจากความเร็วรอบเครื่องยนต์ ปริมาณ ไอดีตำแหน่งลิ้นเร่ง อุณหภูมิน้ำหล่อเย็นของแต่ละสภาวะการขับรถและส่งสัญญาณไปควบคุมลิ้นควบคุมน้ำมัน นอกจากนั้น ECU เครื่องยนต์ยังรับสัญญาณจากตัวตรวจจับตำแหน่งเพลาลูกเบี้ยวและสัญญาณจากตัวตรวจจับ มุมเพลาข้อเหวี่ยงในการอ้างอิงจังหวะที่แท้จริงของลิ้น เพื่อที่จะคำนวนจังหวะปิด-เปิดของลิ้นได้อย่างถูกต้อง