ระบบเครื่องปรับอากาศ 4/5/2017 การประหยัดพลังงาน ระบบเครื่องปรับอากาศ 1 1
สมาชิก อาจารย์วินัย ฤทธิ์เดช โรงเรียนเทคโนโลยีแหลมทอง 4/5/2017 สมาชิก อาจารย์วินัย ฤทธิ์เดช โรงเรียนเทคโนโลยีแหลมทอง อาจารย์เกษณรงค์ ค้ำชู วิทยาลัยการอาชีพพานทอง อาจารย์จรัล แก้วรัตนะ วิทยาลัยการอาชีพเบตง อาจารย์ประกายมาส โพธิ์จันทร์ โรงเรียนเทคโนโลยีหมู่บ้านครู 2 2
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 4/5/2017 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายการทำงานเบื้องต้นของระบบปรับอากาศได้ 2. บอกชื่ออุปกรณ์ในระบบปรับอากาศได้ 3. อธิบายแนวทางการประหยัดพลังงานของระบบปรับอากาศได้ 3 3
โครงสร้างของเครื่องทำความเย็นเบื้องต้น บทที่7 การประหยัดพลังงานสำหรับระบบปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 90 อ้างอิงแผ่นใส ES 086
อุปกรณ์หลักในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ 1. คอมเพรสเซอร์ (Compressor) แบบสกรู แบบลูกสูบ แบบโรตารี่ บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 53 อ้างอิงแผ่นใส IC 066 ทำหน้าที่ขับเคลื่อนสารทำความเย็นให้หมุนเวียนในระบบ 5
อุปกรณ์หลักในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ 2. คอนเดนเซอร์ (Condenser) บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 52 อ้างอิงแผ่นใส IC 067 6
อุปกรณ์หลักในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ 3. อุปกรณ์ลดความดัน ทำหน้าที่ควบคุมปริมาณสารทำความเย็นที่ ไหลเข้าไปในอีวาพอเรเตอร์ บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 53 อ้างอิงแผ่นใส IC 068 7
อุปกรณ์หลักในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ 4. อีวาพอเรเตอร์ (Evaporator) คือ อุปกรณ์ที่ให้ความเย็น ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนสภาวะของสารทำความเย็นจากของเหลวกลายเป็นแก๊ส บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 53 อ้างอิงแผ่นใส IC 069 8
หลักการทำงานเครื่องทำความเย็นเบื้องต้น Capillary tube Evaporator Filter drier Compressor Condenser
เครื่องปรับอากาศแบบรวมศูนย์ (Chiller) บทที่7 การประหยัดพลังงานสำหรับระบบปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 91 อ้างอิงแผ่นใส ES 089
หลักการและการอนุรักษ์พลังงานในระบบความเย็นและปรับอากาศ 11
ระบบปรับอากาศชนิดระบายความร้อนด้วยน้ำ บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 54 อ้างอิงแผ่นใส IC 070 12
ระบบทำความเย็นชนิดระบายความร้อนด้วยอากาศ บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 55 อ้างอิงแผ่นใส IC 071 13
หลักการและการอนุรักษ์พลังงานในระบบความเย็นและปรับอากาศ AHU หลักการและการอนุรักษ์พลังงานในระบบความเย็นและปรับอากาศ 14
ภาระของการทำความเย็นของเครื่องปรับอากาศ ความร้อนจากภายนอกอาคาร - ดวงอาทิตย์ - ร่างกายคน - การรั่วซึม คอมพิวเตอร์ พัดลมระบายอากาศ - ระบบระบายอากาศ หลอดไฟ ความร้อนจากภายในอาคาร บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 54 อ้างอิงแผ่นใส IC 070 กระติกน้ำร้อน ตู้เย็น - อุปกรณ์ไฟฟ้า 15
ระดับ EER ของเครื่องปรับอากาศแบบหน่วยเดียว ระดับประสิทธิภาพ ค่า EER เบอร์ 1 ต่ำกว่า 8.6 เบอร์ 2 ตั้งแต่ 8.6 ขึ้นไป แต่ไม่ถึง 9.6 เบอร์ 3 ตั้งแต่ 9.6 ขึ้นไป แต่ไม่ถึง 10.6 เบอร์ 4 ตั้งแต่ 10.6 ขึ้นไป แต่ไม่ถึง 11 เบอร์ 5 ตั้งแต่ 11 ขึ้นไป
ประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศแบบหน่วยเดียว Energy Efficiency Ratio ; EER EER = ความสามารถในการทำความเย็น (BTU/h) กำลังไฟฟ้า (W)
เครื่องปรับอากาศระบบอินเวอร์เตอร์
การบำรุงรักษาระบบปรับอากาศ บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 61 อ้างอิงแผ่นใส IC 075 - ล้างทำความสะอาดคอยล์ - หล่อลื่นพัดลมทุกตัว - ตรวจเช็คสารทำความเย็น 20
การประหยัดพลังงานในระบบปรับอากาศ - ลดความร้อนจากภายนอกอาคาร - เลือกขนาดให้เหมาะสมกับการใช้งาน - ตั้งอุณหภูมิให้เหมาะสมเพื่อให้มีเวลาพักการทำงาน บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 58 อ้างอิงแผ่นใส IC 073 - อย่างน้อยปีละครั้ง ควรใช้ช่างตรวจระบบการทำงาน 21
การประหยัดพลังงานในระบบปรับอากาศ -ตั้งค่าอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิให้พอเหมาะ -หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศ คอยล์เย็น และคอนเดนเซอร์ระบายความร้อน บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 60 อ้างอิงแผ่นใส IC 074 -ติดตั้งคอนเดนเซอร์ในบริเวณที่เหมาะสม 22
จบ บทที่1.2.4 การประหยัดพลังงานในระบบทำความเย็นและปรับอากาศ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 60 อ้างอิงแผ่นใส IC 074 23