นำเสนอโดย,,, นายสุวิทย์ เมืองวงศ์ ระบบนิวแมติกส์ นำเสนอโดย,,, นายสุวิทย์ เมืองวงศ์
ระบบนิวแมติกส์ This is the subtitle
การเตรียมลม/การผลิตลม ความหมาย องค์ประกอบ-หน้าที่
การเตรียมลม การกระทำต่อลมหรืออากาศที่สภาพปกติให้เป็นลมอัดที่มีสภาพไม่ปกติ ความดัน (PRESSURE) ความชื้น-ฝุ่นละออง (HUMILITY) อุณหภูมิ (TEMPERATURE)
องค์ประกอบ เครื่องอัดลม (COMPRESSOR) เครื่องระบายความร้อน (AFTER COOLER) เครื่องทำอากาศแห้ง และกรอง(AIR DRYER AND FILTER)
เครื่องอัดลม (COMPRESSOR) วาล์วระบายน้ำทิ้ง วาล์วนิรภัย ถังลมอัด เกจวัดความดัน เกจวัดอุณหภูมิ วาล์วเปิดปิด ท่อลมเข้า ส่วนประกอบ - หน้าที่ ชนิดหรือประเภท การเลือกใช้งาน
เครื่องระบายความร้อน (AFTER COOLER) หน้าที่ = เพื่อระบายความร้อนให้ลมอัด ป้องกันความเสียหายจากความร้อน ชนิดหรือประเภท = 2 แบบ (1).แบบใช้พัดลมเป่า (2).แบบใชน้ำหล่อเย็น การทำงาน
ชนิดของเครื่องระบายความร้อน (AFTER COOLER)
การทำงานเครื่องระบายความร้อน (AIR COOLER)
การทำงานเครื่องระบายความร้อน (WATER COOLER)
เครื่องทำอากาศแห้ง (AIR DRYER) หน้าที่ = เป็นอุปกรณ์กำจัดความชื้นในลมอัด เพื่อป้องกันการเกิดน้ำภายในระบบ ชนิดหรือประเภทมีอยู่ 2 ประเภท (1).ชนิดใช้สารเคมี/สารดูดความร้อน (2).ชนิดใช้ความเย็น การทำงาน
เครื่องทำอากาศแห้ง(AIR DRYERS) แบบใช้สารดูดซึม
เครื่องทำอากาศแห้ง(AIR DRYERS) แบบใช้สารดูดซึม 2 ห้อง
เครื่องทำอากาศแห้ง(AIR DRYERS) แบบใช้เครื่องทำความเย็น
เครื่องกรองอากาศ (ท่อเมน) (AIR FILTER) หน้าที่ = กรองฝุ่นละอองและดักแยกน้ำออกจากลมอัด ชนิดหรือประเภท (1).แบ่งตามชนิดของไส้กรอง (2).แบ่งตามโครงสร้าง - ส่วนประกอบ การทำงาน
เครื่องกรองอากาศ (ท่อเมน) (AIR FILTER)
เครื่องกรองอากาศ (ท่อเมน) (AIR FILTER)
การใช้ลมอัด (Consumption System)
การใช้ลมอัด-การเดินท่อเมน (Consumption System) การเดินท่อเมนหลีกเลี้ยงการใช้ข้อต่อโค้ง ข้องอซึ่งเป็นเหตุให้เกิดความดันคร๊อป การต่อท่อวงจรย่อย ควรต่อในลักษณะมุมเอียงบนและติดตั้งตัวดักน้ำ เพื่อป้องกันน้ำภายในท่อเมน การเดินท่อเมนให้มีความลาดเอียง 1-2% เพื่อเป็นทางระบายน้ำภายในท่อ