ความสำคัญและมโนทัศน์พื้นฐานของการวัดและประเมินผลการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
Advertisements

Assessment and evaluation in e-learning
PCTG Model อริยมงคล 55.
การประกันคุณภาพภายนอก
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
หน้าที่ของผู้บริหาร.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ การจัดการเรียนการสอน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
2.แบบผสมผสานเป็นเกลียว
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การวัดผล (Measurement)
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
Introduction to Business Information System MGT 3202
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ADDIE Model.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
เจตนารมณ์ตาม พรบ. การศึกษา 2542
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
“ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบริหารโครงการ โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน” ผลงานวิจัยเรื่อง โดย นางสุภาวดี แก้วเก้า.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสำคัญและมโนทัศน์พื้นฐานของการวัดและประเมินผลการศึกษา

องค์ประกอบของการศึกษา 1. ปรัชญาการศึกษา 2. หลักสูตร 2.1 จุดมุ่งหมาย (Objective) 2.2 เนื้อหา (Content) 3. การสอน 3.1 จุดมุ่งหมายของการสอน 3.2 วิธีสอน 3.3 จิตวิทยา 3.4 สื่อการเรียน

4. การวัดผล 4.1 วัดผลเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน (Formative evaluation) 4.2 วัดผลเพื่อประเมินผลการเรียน (Summative evaluation) 5. การวิจัย

การวัดผลกับการจัดการเรียนการสอน

การเรียนการสอนเพื่อให้บรรลุผลสูงสุดนั้น ผู้สอนควรจะตอบคำถามที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 3 ประการคือ 1. ผู้เรียนมีความสามารถเบื้องต้น หรือมีพฤติกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานอะไรบ้าง (ก่อนสอน) 2. ระหว่างที่เรียนแต่ละเนื้อหา สิ่งใดบ้างที่ผู้เรียนยังไม่เรียนรู้ดีพอ ขาดตกบกพร่องตรงไหน (ระหว่างสอน) 3. หลังจากจบบทเรียนแต่ละตอนหรือทั้งหมด ผู้เรียนมีพฤติกรรมความสามารถขนาดไหน ตรงตามจุดมุ่งหมายที่ต้องการหรือไม่ (หลังสอน)

การวัดและประเมินผลกับการประกันคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา (quality assurance) เป็นกระบวนการที่ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยสถานศึกษาต้องมีกระบวนการบริหารจัดการคุณภาพอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไขและรายงานผลอย่างสม่ำเสมอ

พรบ.การศึกษา มาตรา 48 การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการศึกษาที่สถานศึกษาต้องดำเนินการต่อเนื่อง โดยจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน พรบ.การศึกษา มาตรา 49 สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพนอกอย่างน้อย 1 ครั้งทุก 5 ปี และเสนอผลการประเมินคุณภาพต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน

หน้าที่ของการวัดผลการศึกษาในสถานศึกษา 1. จัดตำแหน่ง (placement) 2. วินิจฉัย (diagnosis) 3. เปรียบเทียบ (assessment) 4. พยากรณ์ (prediction) 5. ประเมินผล (evaluation)

หน้าที่ของการวัดผลการศึกษาในการศึกษาระดับชาติ 1. การสอบ NT มีการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาที่สำคัญของปีสุดท้ายในแต่ละช่วงชั้น ด้วยแบบทดสอบมาตรฐานระดับชาติ (National Test : NT) ส่วนม.6 เพิ่มการสอบความถนัดทางการเรียน (SAT : Scholastic Aptitude Test) 2. การสอบ Admission ในปี 2549 ระบบสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย 5 ส่วนคือ 2.1 GPAX 10% 2.2 GPA 20% 2.3 O-NET (Ordinary National Education Test) 35-70% 2.4 A-NET (Advance National Education Test) 0-35% 2.5 สอบสัมภาษณ์ และตรวจร่างกาย (ไม่คิดคะแนน)

เพื่อค้นหาและพัฒนาสมรรถภาพของมนุษย์ หน้าที่ของการวัดผลการศึกษาทั้งหมดนี้มีประโยชน์ต่อผู้เรียนทั้งสิ้น และช่วยให้ครูผู้สอนทำหน้าที่เสริมสร้างความรู้ให้แก่ผู้เรียนได้อย่างเต็มที่ โดยพยายามค้นหาความสามารถที่เด่นและด้อยของผู้เรียนเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง ดังนั้นหน้าที่ของการวัดผลการศึกษาจึงสรุปได้ว่า เพื่อค้นหาและพัฒนาสมรรถภาพของมนุษย์