การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
Advertisements

ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
II – 4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
สวัสดีครับ.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มที่ 3.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance ) เรวดี ศิรินคร สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)

ขอบเขตเนื้อหา วัตถุประสงค์ กลุ่มโรคและภัยสุขภาพ องค์ประกอบมาตรฐาน ประเด็นสำคัญของงาน/มาตรฐาน การประเมินตนเอง

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ เพื่อทราบการเปลี่ยนแปลงระดับของโรค และสิ่งคุกคามที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมในพื้นที่/ที่ทำงานที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน/ผู้ปฏิบัติงาน และช่วยเฝ้าระวังสุขภาพได้

กลุ่มโรคและภัยสุขภาพ

กลุ่มโรคและภัยสุขภาพ โรคติดต่อ ( communicable Disease ) เช่น ตาม รง. 506 โรคไม่ติดต่อ (Non- Communicable Diseases ) เช่น โรคความดันโลหิตสูง , โรคเบาหวาน , โรคหลอดเลือดสมอง , โรคหัวใจและหลอดเลือด

กลุ่มโรคและภัยสุขภาพ โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (Environmental and Occupational Diseases ) เช่น โรคหูเสื่อมจากการประกอบอาชีพ ,โรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืช , โรคที่เกิดจากสารประกอบอินทรีย์ระเหย หรือโรคพิษสารทำละลายอินทรีย์ เป็นต้น ภัยสุขภาพและการบาดเจ็บ (Health Hazards and Injuries)

กลุ่มโรคและภัยสุขภาพ ภัยสุขภาพและการบาดเจ็บ (Health Hazards and Injuries ) เช่น อุบัติเหตุทางถนน , วาตภัย ,อัคคีภัย ,คลื่นซึนามิ ,แผ่นดินไหว,อุทกภัย, การจลาจน เป็นต้น

มาตรฐาน

II – 8. การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ องค์กรมีความมั่นใจว่ามีการติดตามเฝ้าระวังเพื่อค้นหาการเกิดโรคและภัยสุขภาพที่ผิดปกติอย่างมีประสิทธิภาพ และดำเนินการสอบสวนควบคุมโรคไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดได้

ประเด็นสำคัญ

ประเด็นสำคัญ การติดตาม/เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา การบริหารจัดการและทรัพยายกร การเก็บ และวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวัง การตอบสนองต่อการระบาดของโรคและภัยสุขภาพ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและเตือนภัย

การติดตามเฝ้าระวังและควบคุม Reliability & coverage - Epidemiology Surveillance (การติดตาม/เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ) - การควบคุม

การบริหารจัดการและทรัพยากร นโยบาย แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ ชัดเจน สอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ การกำกับดูแล กำหนดนโยบายและมาตรการ วางแผน ประสานงาน ประเมิน ปรับปรุง มีบุคลากรที่มีความรู้และทักษะ จำนวนเหมาะสม มีงบประมาณและทรัพยากรเพียงพอ &การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม การสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก สำหรับบุคลากรทุกระดับ.

การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวัง มีการเฝ้าระวังโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อและปัญหาสุขภาพอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง ผู้ให้บริการที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ การบันทึกและจัดเก็บข้อมูล เป็นระบบ ต่อเนื่อง เป็นปัจจุบัน ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ แปลความหมายข้อมูลการเฝ้าระวัง การค้นหาการเพิ่มที่ผิดปกติหรือการระบาดของโรค การติดตามเฝ้าดูสถานการณ์และแนวโน้มของโรค อย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน การคาดการณ์แนวโน้มการเกิดโรคที่สำคัญ เพื่อวางแผนป้องกันควบคุมโรค

การตอบสนองต่อการระบาดของโรคและภัยสุขภาพ การเตรียมการ (ทีม แผน มาตรการป้องกัน ) การรายงาน และการสอบสวนผู้ป่วยพาะรายย การดำเนินการเมื่อเกิดการระบาด

การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและเตือนภัย การจัดทำรายงานสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน การรายงานโรคไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การเผยแพร่สารสนเทศที่เป็นปัจจุบันไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสื่อสาธารณะ

โดยสรุป ควรคณะกรรมการฯ/ทีมงานรับผิดชอบ และควรมีการดำเนินเป็นทางการ ในลักษณะงานประจำ ทีม/คณะกรรมการฯ ควรได้รับการสนับสนุนอย่างเต็มที่จากผู้บริหาร

สวัสดีค่ะ