Conceptual Framework ในงานวิจัย R2R นพ. สุธีร์ รัตนะมงคลกุล ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ขั้นตอนของการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย R2R ความอยากรู้ ปรากฏการณ์ แนวความคิดทฤษฎี สร้างคำถามการวิจัย ตรวจสอบงานวิจัยในอดีต การเตรียมข้อมูล การกำหนดคำถามวิจัยที่ชัดเจน การวิเคราะห์ข้อมูล กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปร ทฤษฎีที่ใช้ สมมุติฐาน สถิติ การตีความ การออกแบบการวิจัย การอภิปราย กลุ่มตัวอย่าง ตัวแปร การแทรกแซง การเขียนรายงาน วิธีการเก็บข้อมูล
โมเดลของการดูแลแบบ palliative care
Conceptual Framework เป็นการสรุปความคิดของผู้ทำวิจัยต่อภาพรวมของการวิจัย เป็นการแสดงความเชื่่อมโยงระหว่างการทบทวนวรรณกรรม กับคำถามวิจัยของนักวิจัย เห็นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ที่กำหนดไว้เป็นข้อ สมมุติฐานในการศึกษาวิจัย ทั้งตัวแปรต้นและตัวแปรตาม เป็นอย่างไร อาจแสดงในรูปแผนผังความคิดแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปร http://ruchareka.wordpress.com/2009/08/07/กรอบแนวคิดในการวิจัย-conceptual-framewo/
รูปแบบการนำเสนอ Conceptual framework ตาราง (Tabular) แผนผัง (Diagram) สมการ (Equation/ Formula) บรรยาย (Description) ผสมผสาน (Combination) 5
1. Tabular format จาก Coronary Artery Disease and Peripheral Vascular Disease in Chronic Kidney Disease: An Epidemiological Perspective By Austin G. Stack, In Cardiol Clin 23 (2005) 285–298
The AKIN conceptual model of acute kidney injury. 2. Diagram Format The AKIN conceptual model of acute kidney injury. The AKIN conceptual model of acute kidney injury. ©2008 by American Society of Nephrology Palevsky P M CJASN 2008;3:933-934 7
Schematic representation of relationships Graphics from http://classes.aces.uiuc.edu/ACES100/Mind/c-m2.html
3. Equation/ Formula Format กรอบแนวคิดของการศึกษาปัญหาสุขภาพของชุมชน ปัญหา = สิ่งที่ต้องการ – สิ่งที่มีอยู่ x ความ ตระหนัก เครื่องมือสำรวจระบาดวิทยวิถีชีิวิตชุมชน ประชาคม
ประโยชน์ของกรอบแนวคิดวิจัย ช่วยบอกรายละเอียดของการตอบคำถามนอกจากการ อธิบายว่าศึกษา”อะไร” แล้วรวมถึงศึกษาไป “ทำไม” และ “อย่างไร” เป็นการกำหนดชุดคำอธิบายที่สมเหตุสมผลต่อข้อมูลจาก คำถามวิจัย เป็นตัวกรองในการเลือกหาคำถามวิจัยที่เหมาะสมรวมถึง วิธีการที่เหมาะสมในการเก็บข้อมูล เป็นจุดอ้างอิงสำหรับการอภิปรายต่อวรรณกรรม วิธีการ วิจัยและผลการวิจัย ช่วยกำหนดขอบเขตของงานวิจัยทำให้มุ่งประเด็นอย่าง ชัดเจน เป็นตัวเชื่อมโยงการทบทวนวรรณกรรมกับวิธีการวิจัยและ ผลการวิจัย
การสร้างกรอบแนวคิดการวิจัย แนวความคิดที่มาจากทฤษฎีที่มีเนื้อหาสาระตรงกับเรื่องที่ จะทำวิจัยมากที่สุดเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ต่างๆที่สอดคล้องกับประเด็นที่เรากำลังโดยอาจนำมาจาก การทบทวนวรรณกรรม เป็นแนวความคิดที่เข้าใจง่ายที่สุด ซึ่งสามารถอธิบาย ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรได้ โดยไม่ยุ่งยากซับซ้อน มากเกินไป เป็นแนวความคิดที่มีประโยชน์ในทางปฏิบัติหรือเชิง นโยบายที่สามารถกำหนดมาตรการต่างๆได้อย่างเป็น รูปธรรม ทุกแนวคิดจะต้องนำมาผสมกับแนวความคิดและ ประสบการณ์ของผู้วิจัยเอง
การสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย เป็นขั้นตอนของการนำเอาตัวแปรและประเด็นที่ต้องการ ทำวิจัยมาเชื่อมโยงกับแนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้องในรูป ของคำบรรยาย แบบจำลองแผนภาพหรือแบบผสม จะต้องชัดเจน แสดงทิศทางของความสัมพันธ์ ของตัว แปรที่จะศึกษา สามารถใช้เป็นกรอบในการกำหนด ขอบเขตของการวิจัย การพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย รูปแบบการวิจัย ตลอดจนวิธีการรวบรวมข้อมูลและ วิเคราะห์ข้อมูล ผศ.ดร.กมลพร สอนศรี คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) 12
แหล่งที่มาของกรอบแนวคิดการวิจัย 1. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ควรเลือกจากผลงานวิจัยที่มี คุณภาพ เชื่อถือ ได้ การทบทวนผลงานวิจัย สามารถทำได้ มากเท่าไรยิ่งดีเท่านั้น เพราะจะทำให้เราทราบว่ามีตัวแปรใดบ้างที่สำคัญ 2. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้กรอบแนวความคิด ที่ชัดเจน มีเหตุมีผล เพื่อผู้วิจัยจะได้ทราบว่า ตัวแปรใดสำคัญ และมีความสัมพันธ์ กัน อย่างไร คำอธิบายหรือ ข้อสรุปต่าง ๆ ที่ได้จากการวิจัยในการวิเคราะห์ หรือสรุปผลจะได้มีความหนักแน่นและเข้มแข็งในเชิงทฤษฎี 3. กรอบแนวคิดของผู้วิจัยเองที่สังเคราะห์ขึ้นเอง นอกจากการศึกษาผลงานวิจัยและทฤษฎีต่างๆที่เกี่ยวข้องแล้ว กรอบ แนวคิดยังจะได้มาจากความคิดและประสบการณ์การทำงานของผู้วิจัย เองอีกด้วย 13
ประโยชน์ของกรอบแนวคิดการวิจัย เกี่ยวข้องโดยตรงกับการออกแบบ การวิจัย เพราะแบบของการวิจัย เกี่ยวข้องกับการวัดตัวแปรตาม และตัวแปรอิสระ ชี้ให้เห็นทิศทางการวิจัย ประเภท ของตัวแปร และรูปแบบของ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร เลือกวิธีการที่จะใช้เก็บข้อมูล กรอบแนวคิดจะชี้ให้เห็นถึง แนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูล การตีความหมาย ผลที่ได้จาก การวิเคราะห์ อาศัยกรอบแนวคิด ช่วยทำให้ในการวิเคราะห์ครบถ้วน 1. ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล 2. ขั้นตอนการออกแบบวิจัย 3. ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล 4. ขั้นตอนการตีความ 14
1. ทิศทางการวิจัย ประเภทของตัวแปร และรูปแบบของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร Factors effect Acute Pain - Lumbar puncture - Bonemarrow aspiration - Venipuncture - Intravenous cannulation Operative pricedure - Minor, moderate, major Pharmacological pain management: general anesthetic, topical anesthetic, NSAIDS, opioids Age 1-16 years old** (Age : neonate, child, adolescent) Etiology RX Pain induce stimuli - Personality - Learning - Expectation - previous pain experience Children undergoing medical procedures** -Lumbar puncture Bone marrow aspiration Operations: post- operative pain Acute pain in children Etiology Conceptual framwork Non- pharmacological pain management such as Play, game, toys, distraction, hypnosis (H)** RX Confounding factors Sex, age, pain expereince, coping strategies,Diseases status, Religoius &Cultural belief H Outcomes Pain & anxiety ratings, distress & discomfort Expression of pain - affective - cognitive maturation - interpersonal components การศึกษาการเจ็บปวดกับความวิตกกังวลในผู้ป่วยเด็ก
การศึกษาความเป็นปึกแผ่นของกลุ่ม 2. การแปลงแนวคิดการวิจัยไปสู่การสร้างแบบสอบถาม การศึกษาความเป็นปึกแผ่นของกลุ่ม 16
3. เชื่อมโยงกรอบแนวคิดการวิจัยเข้ากับสถิติที่ต้องการใช้ ปัจจัยส่วนบุคคล เพศ อายุ - การศึกษา (ภาคปกติ/กศ.ปบ.) อาชีพ - คณะที่ศึกษา สถาบันการศึกษา ระดับความพึงพอใจของผู้ มาใช้บริการ - ผู้ให้บริการ - สารสนเทศ - สถานที่ - ครุภัณฑ์ t-test F-test t-test F-test Correlation x2 พฤติกรรมใช้บริการของห้องสมุด 1. ลักษณะการเข้าใช้บริการ 5. ความถี่ในการเข้าใช้บริการ การบริหารจัดการ - การวางแผนเพื่อบริการ - จัดองค์กรให้บริการ - การจูงใจมาใช้บริการ - การควบคุมคุณภาพ F-test การบริหารจัดการสำนักวิทยบริการที่มีผลต่อความพึงพอใจผู้ใช้บริการห้องสมุด 17
4. การใช้กรอบแนวคิดกับการอภิปรายผลการศึกษา องค์ประกอบของ discussion บอกผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ (เชื่อมโยงกับ conceptual framework) แสดงผลการศึกษาเดิม (อาศัยข้อมูลจาก literature reviews) อภิปรายถึงความเหมือนและความต่างระหว่างผลการศึกษา ใหม่กับกับผลการศึกษาเดิมและการนำไปสู่ข้อสรุปที่ได้ บอกข้อจำกัดของการศึกษานี้ต่อประเด็นที่กำลังอภิปรายนี้ (หากมี) อาจบอกข้อเสนอแนะของการนำไปใช้ทั้งในทางปฏิบัติ หัวข้อวิจัยในอนาคตและวิธีการวิจัยที่ควรแนะนำ
ข้อจำกัดของกรอบแนวคิดการวิจัย อาจได้รับอิทธิพลจากประสบการณ์และความรู้ของ นักวิจัยซึ่งอาจทำให้เกิดอคติส่วนบุคคลได้ กรอบแนวคิดวิจัยอาจมีอิทธิพลต่อวิธีคิดของนักวิจัยได้ และอาจส่งผลต่อการให้ความสำคัญและการละเลยบาง ประแด็นได้ จึงควรทบทวนกรอบแนวคิดวิจัยอีกครั้งเมื่อสิ้นสุดเพื่อ ประเมินงานที่ทำ
ความแตกต่างของ frameworks Conceptual framework กรอบแนวคิด/ กรอบความคิด Theoretical framework กรอบทฤษฎี Operational framework กรอบการ ดำเนินการวิจัย หรือ Research flow chart
Theoretical framework ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model)
Operational Framework (กรอบการปฏิบัติงาน) Sample: 16 piglets Control group (4 piglets) Group A 1% of WV in feed - Healthy piglet - Salmonella free - Hybrid piglets - 15 kg per piglet Treatment group (12 piglets) The numbers of colonies count of Salmonella Enteritidis on XLD Population: all piglets Group B 3% of WV in feed Group C 5% of WV in feed Challenge with Salmonella Enteritidis suspension (1x 107 cfu) in all piglets Fresh fecal samples are collect from each piglet on day 1 to 7 after challenge. Operational Framework (กรอบการปฏิบัติงาน)
Conceptual framework for qualitative vs. quantitative research Qualitative research (Gilgan, 2004; Perry, 1995) Broad structure for data collection and analysis Sensitises researcher - what to look for / how to look Progressively refined, may incorporate experiential knowledge - built as information comes to light Quantitative research Theory Hypothesis Identifying, validating and operationalising variables (see for e.g. Dickson, Derevensky & Gupta, 2002)
การจัดการปัญหาจากการใช้ยาในหน่วยบริการปฐมภูมิ(DRPs) โดย กิตติศักดิ์ เหลืองใส เภสัชกรปฏิบัติการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสิงห์บุรี หน่วยงาน กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข