เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท. แผนงาน สสนก. เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
Œ ภาพรวมแผนงาน สสนก. การให้บริการ ฐานความรู้ การสร้างศักยภาพ ระบบเทคโนโลยี GIS-MIS ระบบความรู้ ระบบเทคโนโลยี โทรมาตรขนาดเล็ก การให้บริการ ระบบการจัดการระดับชุมชน แผนที่ความเสี่ยง การศึกษาความเหมาะสมของพื้นที่ที่มีศักยภาพใช้เป็นแก้มลิง แบบจำลองน้ำ บัญชีข้อมูลและคลังข้อมูล คลังความรู้ เผยแพร่ งานวิจัย เผยแพร่ การเรียนรู้ เทคโนโลยี โทรมาตรขนาดเล็ก ฐานความรู้ ระบบวิเคราะห์ความเสี่ยงน้ำท่วม น้ำแล้ง พัฒนา ต่อยอด ระบบการบริหารจัดการแก้มลิง เทคโนโลยี GIS-MIS พัฒนาการด้านเทคโนโลยี การวางแผนการเกษตร Œ จัดทำแบบจำลอง ศึกษาความเสี่ยง การจัดการการเงินระดับชุมชน การบริหารจัดการชุมชน ประยุกต์ใช้ ว และ ท ใช้สารสนเทศให้เกิดประโยชน์ บัญชีชุมชน บัญชีครัวเรือน การสร้างศักยภาพ ระบบบัญชีน้ำชุมชน แผนพัฒนาแหล่งน้ำชุมชน Lean Management สถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการ เอกชน ความร่วมมือในประเทศ ความร่วมมือระหว่างประเทศ Climate Change Integrated Water Resource Management Isotope Hydrology - คือ เป้าหมายที่ 1 – 6 ของสถาบันฯ Onward
Œ ยุทธศาสตร์-กิจกรรม-ตัวชี้วัด สสนก. l ระบบโทรมาตรขนาดเล็ก ระบบ Internet GIS-MIS แบบจำลองน้ำ ระบบข้อมูล ระบบความรู้ ระบบการจัดการชุมชน (CSR) 6. จำนวนหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรสาธารณกุศล ที่ใช้ผลงานวิจัยและพัฒนา (ราย) (9) 9. จำนวนแม่ข่ายด้านการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน ที่มีศักยภาพและสามารถขยายผล (ราย) (9) การให้บริการ 7. จำนวนการบริการวิเคราะห์ และบริการข้อมูลทาง ว. และ ท. (รายการ) (14) 12. จำนวนชุมชนที่ใช้ผลงานวิจัยและพัฒนา (ราย) (9) 8. จำนวนผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน (ผลงาน) (3) 13. ผู้นำไปใช้มีรายได้/เงินออม เพิ่มขึ้น หรือรายจ่าย/หนี้สิน ลดลง (ร้อยละ) (..) ฐานความรู้ด้าน ว และ ท โดยใช้สารสนเทศในการจัดการ ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรเกษตร ชุมชน งานวิจัย การพัฒนาเทคโนโลยี GIS-MIS การพัฒนาเทคโนโลยีโทรมาตรขนาดเล็ก แบบจำลองและ การศึกษาความเสี่ยง การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูลและคลังข้อมูล การพัฒนาระบบคลังความรู้ 3. จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (เรื่อง) (6) 4. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนา และเทคโนโลยี ที่สามารถนำไปยื่นขอจดสิทธิบัตร (เรื่อง) (7) ฐานความรู้ 5. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและเทคโนโลยีที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิต บริการและชุมชน (เรื่อง) (8) ทรัพยากรบุคคล การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ความเชี่ยวชาญด้านทรัพยากรน้ำ ความเชี่ยวชาญด้านทรัพยากรเกษตร Œ 1. จำนวนบุคลากรที่ได้รับการฝึกอบรมด้าน ว และ ท (คน) (2) 10. จำนวนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรสาธารณกุศล และ สถาบันการศึกษา ทั้งในและต่างประเทศที่มีความร่วมมือต่อเนื่อง (ราย) (10) 2. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ด้าน ว และ ท (คน) (5) เครือข่าย ด้านการวิจัยและพัฒนา ด้านทรัพยากรน้ำ ด้านทรัพยากรเกษตร ด้านชุมชนและท้องถิ่น ความร่วมมือระหว่างประเทศ การสร้างศักยภาพ 9. จำนวนแม่ข่ายด้านการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน ที่มีศักยภาพและสามารถขยายผล (ราย) (9) 11. จำนวนโครงการความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศที่มีกิจกรรมต่อเนื่องอย่างเป็นรูปธรรม (โครงการ) (10) KPI สสนก. ( KPI วท.) ยุทธศาสตร์ สสนก. l
กรอบยุทธศาสตร์ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ.ศ.2552-2555 – สสนก. เป็นองค์กรที่สร้างองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับการบริหารจัดการ ด้านทรัพยากรน้ำและการเกษตร เพื่อรองรับสภาวะการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติที่รุนแรงขึ้น และขยายผลการทำงานโดยการสร้างและพัฒนาเครือข่าย วิสัยทัศน์ 1. วิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรวมทั้งรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในด้านการจัดการสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร 2. นำเสนอผลการวิจัยและพัฒนาเพื่อให้องค์การต่างๆ นำไปใช้ประโยชน์ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร 3. ส่งเสริมความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศในการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในด้านการจัดการสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร 4. บริการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เป็นผลการวิจัยและพัฒนาของสถาบันให้ประชาชนและชุมชนนำไปใช้ประโยชน์ได้โดยสะดวกและเกิดประสิทธิผล พันธกิจ 1. การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้านทรัพยากรน้ำและการเกษตร 2. การวิจัย พัฒนา เทคโนโลยี และฐานความรู้ ด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร 3. การสร้างความเชื่อมั่นในงานวิจัยและเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น 4. การสร้างแม่ข่ายการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน ด้วย ว และ ท 5. การสร้างเครือข่าย งานวิจัยและพัฒนา ด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร 6. การถ่ายทอดเทคโนโลยี และนำผลงานวิจัยไปประยุกต์ใช้กับชุมชน ยุทธศาสตร์ กรอบการดำเนินงาน การสร้างศักยภาพ (Capability) ฐานความรู้ (Knowledge) การให้บริการ (Services) การให้บริการ (Services) การสร้างศักยภาพ (Capability) การสร้างศักยภาพ (Capability) การให้บริการ (Services) เป้าหมายที่ 1 บุคลากรได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถ และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวิจัย พัฒนา และบริหารจัดการได้ เป้าหมายที่ 2 ผลงานวิจัยและฐานความรู้ ที่เป็นคำตอบใหม่ในการแก้ปัญหา เป้าหมายที่ 3 ผลงานวิจัย และเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น สามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ผลจริง เป้าหมายที่ 4 แม่ข่ายมีศักยภาพในการดำเนินงานและขยายผล ด้านการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน เป้าหมายที่ 5 เกิดความร่วมมือ ด้านการศึกษา วิจัย เผยแพร่และแลกเปลี่ยนผลงานวิจัยและข้อมูล เป้าหมายที่ 6 สร้างความมั่นคงให้กับเศรษฐกิจชุมชน เป้าประสงค์ 1.1 สนับสนุนให้บุคลากรได้รับการศึกษาและอบรม ความรู้ระดับสูงทางด้าน ว และ ท 1.2 เสริมความรู้และทักษะให้แก่ผู้ทำงานทางด้าน ว และ ท ในภาคส่วนต่างๆ 2.1 ผลักดันการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ในการแก้ปัญหา และใช้สนับสนุนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1 ผลักดันให้เกิดการใช้ประโยชน์ และขยายผล งานวิจัยและเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น 3.2 สร้างคลังข้อมูลและความรู้ด้านทรัพยากรน้ำ 3.3 เร่งสร้างตัวอย่างความสำเร็จ 3.4 พัฒนาคุณภาพข้อมูลและการให้บริการ 4.1 เร่งสร้างแม่ข่ายด้านการจัดการทรัพยากรชุมชน ให้มีศักยภาพและความพร้อมในการขยายผล 5.1 เผยแพร่ผลงานและตัวอย่างความสำเร็จ ให้เกิดความร่วมมือในระดับประเทศและระดับสากล 6.1 สร้างความเข้าใจในการนำ ว และ ท ไปใช้ประโยชน์ 6.2 การเข้าไปเป็นหุ้นส่วนการทำงานร่วมกับชุมชน กลยุทธ์ 1. จำนวนบุคลากรที่ได้รับการฝึกอบรมด้าน ว และ ท (คน) 2. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ด้าน ว และ ท (คน) 3. จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (เรื่อง) 4. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนา และเทคโนโลยี ที่สามารถนำไปยื่นขอจดสิทธิบัตร (เรื่อง) 5. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและเทคโนโลยีที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิต บริการและชุมชน (เรื่อง) 6. จำนวนหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรสาธารณกุศล ที่ใช้ผลงานวิจัยและพัฒนา (ราย) 7. จำนวนการบริการวิเคราะห์ และบริการข้อมูลทาง ว. และ ท. (รายการ) 8. จำนวนผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน (ผลงาน) 9. จำนวนแม่ข่ายด้านการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน ที่มีศักยภาพและสามารถขยายผล (ราย) 10. จำนวนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรสาธารณกุศล และ สถาบันการศึกษา ทั้งในและต่างประเทศที่มีความร่วมมือต่อเนื่อง (ราย) 11. จำนวนโครงการความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศที่มีกิจกรรมต่อเนื่องอย่างเป็นรูปธรรม (โครงการ) 12. จำนวนชุมชนที่ใช้ผลงานวิจัยและพัฒนา (ราย) 13. ผู้นำไปใช้มีรายได้/เงินออม เพิ่มขึ้น หรือรายจ่าย/หนี้สิน ลดลง (ร้อยละ) ตัวชี้วัด
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ วท. และ สสนก. 3.การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม สร้างฐานความรู้และเพิ่มผลิตภาพของประเทศ 1. การส่งเสริมและเร่งรัดการพัฒนากำลังคนด้าน วทน. ให้เป็นพลังของประเทศ 4.การถ่ายทอดเทคโนโลยีและมีการนำผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมไปใช้ในการเพิ่มผลผลิตเชิงพาณิชย์ทุกระดับ 5. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมให้เพียงพอ รวมทั้งพัฒนาการบริหารจัดการด้าน วทน. ให้มีประสิทธิภาพและทันสมัย 2. การสร้างความตระหนัก และพัฒนา การเรียนรู้ด้าน วทน.ให้เป็นสังคมฐาน ความรู้ ยุทธศาสตร์ วท. เป้าหมายที่ 5 ภาคการผลิตและบริการ ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานในการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการให้ได้มาตรฐาน รวมทั้ง การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสนับสนุนและการบริหารจัดการที่มีคุณภาพให้เพียงพอกับความต้องการ เป้าหมายที่ 1 กำลังคนทางด้าน วทน. ที่ได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถโดยการศึกษา/อบรม สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม และ การปฏิบัติงานด้าน วทน.ได้ เป้าหมายที่ 3 การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมสามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ ในภาคการผลิต บริการ และชุมชน เป้าหมายที่ 2 ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งเด็กและเยาวชน มีทัศนคติที่ดีต่อ วทน. เป้าหมายที่ 4 ผู้ประกอบการและชุมชนได้นำเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม เป้าหมายการให้บริการ วท. เป้าหมายการให้บริการ สสนก.: เสนอผลการวิจัยและพัฒนาเพื่อ ให้องค์การต่างๆ นำไปใช้ประโยชน์ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร ผลผลิต : ฐานความรู้ และเทคโนโลยีด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร 1. การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศด้านทรัพยากรน้ำและการเกษตร 2. การวิจัย พัฒนา เทคโนโลยี และฐานความรู้ ด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร 3. การสร้างความเชื่อมั่นในงานวิจัยและเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น 4. การสร้างแม่ข่ายการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน ด้วย ว และ ท 5. การสร้างเครือข่าย งานวิจัยและพัฒนา ด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร 6. การถ่ายทอดเทคโนโลยี และนำผลงานวิจัยไปประยุกต์ใช้กับชุมชน ยุทธศาสตร์ กรอบการดำเนินงาน การสร้างศักยภาพ (Capability) ฐานความรู้ (Knowledge) การให้บริการ (Services) การให้บริการ (Services) การสร้างศักยภาพ (Capability) การสร้างศักยภาพ (Capability) การให้บริการ (Services) เป้าหมายที่ 3 ผลงานวิจัย และเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น สามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ผลจริง เป้าหมายที่ 1 บุคลากรได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถ และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวิจัย พัฒนา และบริหารจัดการได้ เป้าหมายที่ 2 ผลงานวิจัยและฐานความรู้ ที่เป็นคำตอบใหม่ในการแก้ปัญหา เป้าหมายที่ 4 แม่ข่ายมีศักยภาพในการดำเนินงานและขยายผล ด้านการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน เป้าหมายที่ 5 เกิดความร่วมมือ ด้านการศึกษา วิจัย เผยแพร่และแลกเปลี่ยนผลงานวิจัยและข้อมูล เป้าหมายที่ 6 สร้างความมั่นคงให้กับเศรษฐกิจชุมชน เป้าประสงค์ 3. จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (เรื่อง) 4. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนา และเทคโนโลยี ที่สามารถนำไปยื่นขอจดสิทธิบัตร (เรื่อง) 5. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและเทคโนโลยีที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิต บริการและชุมชน (เรื่อง) 10. จำนวนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรสาธารณกุศล และ สถาบันการศึกษา ทั้งในและต่างประเทศที่มีความร่วมมือต่อเนื่อง (ราย) 11. จำนวนโครงการความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศที่มีกิจกรรมต่อเนื่องอย่างเป็นรูปธรรม (โครงการ) 12. จำนวนชุมชนที่ใช้ผลงานวิจัยและพัฒนา (ราย) 13. ผู้นำไปใช้มีรายได้/เงินออม เพิ่มขึ้น หรือรายจ่าย/หนี้สิน ลดลง (ร้อยละ) 6. จำนวนหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรสาธารณกุศล ที่ใช้ผลงานวิจัยและพัฒนา (ราย) 7. จำนวนการบริการวิเคราะห์ และบริการข้อมูลทาง ว. และ ท. (รายการ) 8. จำนวนผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน (ผลงาน) 9. จำนวนแม่ข่ายด้านการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน ที่มีศักยภาพและสามารถขยายผล (ราย) 1. จำนวนบุคลากรที่ได้รับการฝึกอบรมด้าน ว และ ท (คน) 2. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ด้าน ว และ ท (คน) ตัวชี้วัด