การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี Company Logo www.themegallery.com
นโยบายส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
Prevention & Promotion PP ประเด็น PP กลุ่มวัย ส่งเสริมสุขภาพภาคใต้ เด็ก พัฒนาการ ศูนย์เด็กเล็ก WCC ANC คุณภาพ แม่และเด็ก ฟันผุ Health Card สุขภาพฟัน สตรี แม่ตาย ส่งเสริมสุขภาพสตรี สุขภาพจิต ทุพพลภาพ มะเร็งเต้านม/ปากมดลูก ศูนย์พึ่งได้ บูรณาการกองทุนสตรี วัยเรียน ตั้งครรภ์ ดญ.แม่ พัฒนาบริการปฐมภูมิ วัยรุ่น อ้วน บุหรี่ เหล้า 1 รร. 1 คลินิค 1 หมอ 1 รพ.สต. มะเร็งตับ เพิ่มคุณภาพ รพ.สต. /ศสม. วัยทำงาน สุขภาพจิต เบาหวาน ความดัน สุขภาพวัยทำงาน ลดแออัด สูงอายุ ดูแล 3 กลุ่มครบวงจร 70 ปีไม่มีคิว ห้องน้ำผู้สูงอายุ ผู้พิการ อุปกรณ์ช่วย พึ่งตนเอง กายภาพบำบัด ฟื้นฟู
ประเด็นยุทธศาสตร์ ด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ตามกลุ่มวัย
1. กลุ่มสตรีและเด็ก 1.1 ANC คุณภาพ 1.2 การดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย 1.3 การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียน 1.4 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ -มะเร็งในกลุ่มสตรี -NCD (DM/HT) -มะเร็งตับ -สุขภาพจิต -การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน -การพัฒนาความพร้อมตามเกณฑ์สถานบริการรองรับผู้สูงอายุและผู้พิการ
ยกระดับคุณภาพมารดาและเด็ก ส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยอย่างองค์รวม 1.ร้อยละ ANC คุณภาพไม่น้อยกว่า 70 2.ร้อยละความครอบคลุม WCC คุณภาพไม่น้อยกว่า 70 3. ร้อยละของภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอดไม่เกิน 25 ต่อการเกิดมีชีพ 1,000 คน 4. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สป. ไม่น้อยกว่า 60 โครงการรวมพลังสร้างชาติแม่และเด็กไม่ขาดไอโอดีน 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน 100% 2. สัดส่วนหญิงตั้งครรภ์มี่มีระดับไอโอดีนในปัสสาวะ <150 micro gm.<50% 3.เด็กแรกเกิด- 5 ปีส่วนสูงระดับดี รูปร่างสมส่วน ≥ 70% Company Logo www.themegallery.com
ยกระดับคุณภาพเด็กปฐมวัย ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอย่างมีส่วนร่วม 1.ร้อยละ ศพด.คุณภาพ (ระดับดีและดีมาก) 2.ร้อยละเด็กปฐมวัยพัฒนาการสมวัย ≥ 90 3. ร้อยละเด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยได้รับการประเมินและแก้ไข ≥ 80 4. ร้อยละเด็กอายุ 1 ปีได้วัคซีนหัด ≥ 95 การควบคุมฟันผุในเด็กปฐมวัย 5. ร้อยละเด็กปฐมวัย 3 ปี ฟันน้ำนมผุไม่เกิน 57 (สิ้นปี 58) เด็กไทยสูง สมองดี แข็งแรง 6. เด็กแรกเกิด- 5 ปีส่วนสูงระดับดี รูปร่างสมส่วน ≥ 70% Company Logo www.themegallery.com
ยกระดับคุณภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น เด็กไทยสุขภาพดี ลดอ้วน ลดฟันผุ 1.ภาวะอ้วนในเด็กลดลงจากร้อยละ 17 เหลือ 15 ในปี 2560 2. ลดฟันผุนักเรียน จากร้อยละ 60 เหลือ 55 ในปี 2560 3. นร. มีส่วนสูงระดับดี รูปร่างสมส่วน ≥ 70% 4. นร.สามารถพัฒนาตนเองตามศักยภาพและมีความสุข 5. ลดอุบัติการณ์ของโรคหัดไม่เกิน 5 ราย/ ปชก. 1 ล้านคนในปี 2558 6. ภาคีมีแผนควบคุมโรคอ้วน ฟันผุ สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ส่งเสริมการเจริญเติบโต 7. ร้อยละ รร.ปลอดน้ำอัดลม ควบคุมน้ำหวาน/ขนมกรุบกรอบ ≥ 75% การป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น Company Logo www.themegallery.com
การบริหารงาน PP สุขภาพช่องปาก ปี 2556
PP ประเด็น ส่งเสริมสุขภาพช่องปากภาคใต้ กลุ่มเป้าหมายหลัก -แก้ไขปัญหาฟันผุในเด็กวัยเรียน เพิ่มฟันดี จาก 30% เป็น 40 % ภายในปี 2558 -รณรงค์ทำฟันเทียมผู้สูงอายุปีละ 3,000 ราย 19 ธันวาคม 2555 จัดประชุม 4 จว.ภาคใต้เพื่อหารือแผนปฏิบัติการ (รพ.ละ 1 คน สสจ. ละ 2 คน)
3 ชุมชน /ครอบครัว เข้มแข็ง PP กลุ่มวัย : กลยุทธ์การพัฒนาสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย 3 ชุมชน /ครอบครัว เข้มแข็ง พ่อแม่ ผู้ดูแลเด็กที่บ้าน มีทักษะ/ทำความสะอาดช่องปาก เด็กโดยการแปรงฟันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ทุกวัน ศพด. รร.อนุบาล จัดกิจกรรมแปรงฟันและควบคุมอาหาร บูรณาการ 2 การขับเคลื่อนสังคม รณรงค์ให้เกิดค่านิยมดูแล ช่องปากเด็กตั้งแต่เกิด ให้ข้อมูล ความรู้ ผ่านสื่อ อย่างต่อเนื่อง 1 ระบบบริการ -เพิ่มการเข้าถึงบริการ อย่างเสมอภาค -เพิ่มคุณภาพบริการ ต่อเนื่อง ได้ผล สุขภาพช่องปากเด็ก ปฐมวัย (ฟันผุไม่เกิน 57% ในปี 2558) 4 นโยบาย ควบคุมน้ำตาลในอาหารเด็ก
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ระดับ Impact เด็ก 3 ปีมีฟันผุไม่เกินร้อยละ 57 ในปี 2558 ระดับ Outcome - 60% เด็กได้รับการแปรงฟันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ทุกวัน(ก่อนนอน) - มีมาตรการควบคุมน้ำตาลในอาหารเด็ก