การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบูรณาการงานสุขภาพจิต กับระบบสุขภาพระดับอำเภอ(DHS)
Advertisements

FPL: Family Practice Learning การฝึกปฏิบัติ โดยใช้ รพช. เป็นฐาน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
โดย นายนิตย์ ทองเพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
ยินดีต้อนรับคณะเยี่ยมชื่นชม
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การสร้างแผนงาน/โครงการ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
คณะทำงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเขต 12
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
โครงการสร้างความเข้มแข็ง การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
Unity Team (รวมกันเป็นหนึ่งเดียว) การทำงานร่วมกันและดำเนินงาน
DHS,FCT 3P + ข้อเสนอ.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
DHS.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)

เป้าหมาย ประชาชนและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ และได้รับความไว้วางใจจากประชาชน

แนวทางการพัฒนา District Health System (DHS) 1.การบริหารจัดการสุขภาพเป็นเอกภาพระดับอำเภอ (Unity District Health Team) 2. การบริหารทรัพยากรร่วมกัน (Resouce Sharing) 3.การบริการปฐมภูมิที่จำเป็น (Essential Care) 4. การสร้างคุณค่าและคุณภาพกับเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Appreciation & Quality) 5. ประชาชนและภาคีมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาสุขภาพ (Partnerships) DHS

การทำงานจนเกิดคุณค่า (Appreciation) การดูแลที่จำเป็นตามบริบทของพื้นที่ (Essential care) การทำงานจนเกิดคุณค่า (Appreciation) 2°, 3° care การมีส่วนร่วม แบบบูรณาการ(Community participation) District Health System Development (DHSD) ปัญหาร่วม Health วิสัยทัศน์ร่วม - Individual care - Home care - Community care กรอบการทำงานร่วมกัน เริ่มจาก ปัญหาร่วม นำไปสู่การพัฒนา และสุขภาพต่อไป การแบ่งปันทรัพยากร และการพัฒนาบุคลากร(Resource sharing and human development) การทำงานเป็นทีมของ เครือข่ายสุขภาพอำเภอ (Unity District Health Team) 4

Conceptual Framework of DHS Development Specialist Provincial Hospital Unity of District Health Teams (รพ.ชุมชน–สสอ.–รพ.สต.–อปท.–ชุมชน ) Other Sectors CBL Common Goal Common Action Common Learning Essential Cares Self Care SRM Action Research / R2R Psychosocial Outcomes Value Satisfaction Happiness Clinical Outcomes Morbidity Mortality Quality of Life

Buddy 46 อำเภอ

การเขียน profile ของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ 1. ข้อมูลทั่วไป 2. ข้อมูลสถานะสุขภาพ (health status) 3. แนวคิดและความคาดหวังการดำเนินการสู่อำเภอสุขภาวะ 4. วิธีการจัดการและพัฒนางานปฐมภูมิในภาพรวมทั้งอำเภอ ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ทีมระดับอำเภอ (unity district health team) การจัดการทรัพยากร (Resource management and human development) การดูแลที่จำเป็นสำหรับชุมชน (Essential Care) ภาคีเครือข่ายในชุมชน (Community participation) การชื่นชมและเชิดชู(appreciation) 5.ประเมิน วิเคราะห์และแนวทางทีจะพัฒนา ODOP ตามความคาดหวังต่อไป การบริการที่จำเป็นสำหรับชุมชน (Essential Care)

255 DHS 21+25 สพช 30

DHS ปัญหาร่วม D&D L&G อ.ประเวศ วะสี การตอบสนอง - นโยบาย - Unity district health team - Resource sharing - Community participation - Appreciation Essential Care ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน พึ่งตนเองได้ในความเจ็บป่วยที่พบบ่อย โรคเรื้อรังสำคัญ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง สามารถควบคุม และดูแลได้ในชุมชน มีความเข้มแข็ง ของการควบคุมโรค ในท้องถิ่น เช่น ไข้เลือดออก และโรคไม่ติดต่อ ผู้สูงอายุ ผู้ที่ต้องพึ่งพา สามารถได้รับการดูแล ได้ในชุมชน และที่บ้าน เกิดการสร้างสุขภาวะของชุมชน โดย ความเข้มแข็งของชุมชน มีภูมิคุ้มกัน อ.ประเวศ วะสี การตอบสนอง - นโยบาย - ความต้องการของประชาชน - ความต้องการของหน่วยงาน - ความต้องการของภาคีเครือข่าย D&D L&G Do &Development Learning & Growth 9

ระบบสนับสนุน กลไกส่วนกลาง คือ คณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ ทีมเลขาฯ สำนักบริหารการสาธารณสุข กระบวนการพัฒนาศักยภาพพื้นที่ มี 2 ส่วน คือ ทีมสนับสนุนระดับพื้นที่ โดยผ่านคณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพระดับเขต และทีมพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ (โดยสำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน) เป็นตัวแทนที่มาจากฝ่ายประกันคุณภาพ งานปฐมภูมิ และงาน DHS เขตละ 5 คน ซึ่งจะพยายามประสานให้ทั้งสองส่วนเป็นทีมเดียวกัน การพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ โดย DHSA (21+25 แห่ง) และ สพช. (30 แห่ง) สามารถเชื่อมกระบวนการเรียนรู้ระหว่างกันได้ในเวทีทุกระดับ

การขยายพื้นที่การเก็บข้อมูลโดย saraphi application โดยอำเภอที่จะทำการเก็บข้อมูลนั้น ทำงานเรื่องชุมชน (care+health) มีเครือข่ายในพื้นที่

โครงการเสริมศักยภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ เขต 12 รพช. + สสอ.+เครือข่าย CORE TEAM ความสัมพันธ์แนวราบ อำเภอต้นแบบ สปสช.เขต+ สธ.เขต Health service delivery to HP เพื่อเสริมความเข้มแข็งของโรงพยาบาลชุมชนและพื้นที่ ระบบจัดการระดับเขตต้นแบบ เขต 12 พื้นที่ไข่แดง เช่น อ.นาทวี ไม้แก่น กะพ้อ ละงู Health workforce ด้วยกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอในเขตบริการสุขภาพ องค์ความรู้ นวตกรรมเพื่อเสริมศักยภาพเครือข่ายระดับอำเภอ Design health information ที่เหมาะสมกับพื้นที่ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในระบบบริการสุขภาพ ODOP เชิงประเด็น

โครงการเสริมศักยภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ เขต 12 รพช. + สสอ. อำเภอต้นแบบ สปสช.เขต+ สธ.เขต Health service delivery to HP เพื่อเสริมความเข้มแข็งของโรงพยาบาลชุมชนและพื้นที่ ระบบจัดการระดับเขตต้นแบบ เขต 12 พื้นที่ไข่แดง เช่น อ.นาทวี ไม้แก่น กะพ้อ ละงู Health workforce ด้วยกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอในเขตบริการสุขภาพ องค์ความรู้ นวตกรรมเพื่อเสริมศักยภาพเครือข่ายระดับอำเภอ Design health information ที่เหมาะสมกับพื้นที่ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในระบบบริการสุขภาพ เขต 12 ได้แก่ ตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล