การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

โครงการการป้องกันเอชไอวีในกลุ่มประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
กลุ่มพฤติกรรมวัยรุ่น
อายุเฉลี่ยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของนักเรียนอาชีวศึกษาชั้น ปวช
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์ ปี
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
วัยทีน วัยใส ใส่ใจ อนามัยเจริญพันธุ์จังหวัดตราด
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
น.พ.อมร นนทสุต.
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ดำเนินงานโดย คปสอ. บ้านโป่ง
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
ผลการดำเนินงานที่ผ่าน มาของโรงพยาบาล ปัตตานี. แรงงานข้ามชาติ พนักงานบริการ ประชาชนทั่วไป ชายรักชาย กลุ่มเป้าหมาย.
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
- ชื่อ นาง ประกาย ภูตี กา อายุ ๕๐ ปี - วันเกิด ๒๘ เมษายน ๒๕๐๗ - การศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ ๖ - ระยะเวลาการเป็น อส ม. ๑๐ ปี
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
โครงการ “ อนามัยเจริญพันธุ์ดี มีสุข วัยรุ่นเลย :
สกลนครโมเดล.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น การป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น

อัตราการตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปี จังหวัดนครศรีธรรมราช ปี 2549-2553 ร้อยละ

จังหวัดนครศรีธรรมราช ปี 2551-2553 การแท้งตามกลุ่มอายุ จังหวัดนครศรีธรรมราช ปี 2551-2553 จำนวน(คน) ตั้งใจ 24% ไม่ตั้งใจ 67% ตั้งใจ 25% ไม่ตั้งใจ 71% ตั้งใจ 19% ไม่ตั้งใจ 74%

อัตราคุมกำเนิด กลุ่มอายุ 14-24 ปี จังหวัดนครศรีธรรมราช ปี 2553 %MWRA อายุ

อัตราการติดเชื้อเอชไอวี หญิงตั้งครรภ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ปี 2544-2553 ร้อยละ

อัตราการติดเชื้อเอดส์กลุ่มอายุ 15-24 ปี จังหวัดนครศรีธรรมราช ปี 2553 อัตรา: แสนpop15-24ปี

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์กลุ่มอายุ 15-24 ปี จังหวัดนครศรีธรรมราช ปี 2551-2553 อัตรา: แสน Pop 15-24 ปี

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์กลุ่มอายุ 15-24 ปี จังหวัดนครศรีธรรมราช ปี 2553 อัตรา: แสน Pop 15-24 ปี

รูปแบบการจัดสอนเพศศึกษาในสถานศึกษา ข้อมูลการสอนเพศศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ณ ธค.2553 สพท. ประเภทโรงเรียน จำนวน/ สอนเพศศึกษา (แห่ง) รูปแบบการจัดสอนเพศศึกษาในสถานศึกษา เต็มรูปแบบ บูรณาการ ในกลุ่มสาระ ตามความพร้อมของครู แบบสอดแทรก 1 มัธยมศึกษา 14 / 4 3 ขยายโอกาส 22 / 19 19 2 19 / 7 4 24 / 24 15 45 / 45 38 13 / 2 30 / 5 รวม 219 /143 13 33 42 55 อาชีวศึกษา 11

ความครอบคลุมของการดำเนินกิจกรรมในสถานศึกษา • อบรม MASTER TRAIN ของจังหวัด • จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้านและการโค้ช” แก่ครู จนท.สาสุข อปท.จำนวน 100 คน ระยะเวลา 4 วัน (ร่วมกับสพท.นศ ที่ ๒) • สนับสนุนสถานศึกษาดำเนินการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงโดยการเข้าร่วมกิจกรรมการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

ความครอบคลุมของการดำเนินกิจกรรมในสถานศึกษา • การติดตามCoaching ครูผู้สอน • สนับสนุนสถานศึกษาดำเนินการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงโดยการเข้าร่วมกิจกรรมการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

ความครอบคลุมของการดำเนินกิจกรรมในสถานศึกษา • จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันเอดส์ STIs และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรร่วมกับโรงเรียน จำนวน ๒๓ โรง • สนับสนุนให้มีการจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นในโรงเรียน จำนวน ๒๐ โรง

ความครอบคลุมของการดำเนินกิจกรรมในสถานบริการสาธารณสุข • ประสานรพ.ทุกแห่งจัดให้มีบริการสุขภาพและอนามัยเจริญพันธ์ที่เป็นมิตรกับเยาวชน • ติดตามการจัดระบบบริการสุขภาพและอนามัยเจริญพันธ์ที่เป็นมิตรกับเยาวชน ของรพ.ท่าศาลา รพ. ทุ่งสง รพ.มหาราช • ประชาสัมพันธ์การใช้บริการสายด่วนสุขภาพจิต 1323 ฟรี 24 ชม.

ความครอบคลุมของการดำเนินกิจกรรมในสถานบริการสาธารณสุข • พัฒนาองค์ความรู้ให้แก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เช่น COUPLE COUNSELING • สนับสนุนถุงยางอนามัยให้สถานบริการสาธารณสุขเพื่อใช้แจกจ่ายให้กับประชาชนผู้มีพฤติกรรมเสี่ยง • สำรวจแหล่งแพร่ สถานบันเทิง ร่วมกับการให้สุขศึกษาเพื่อป้องกันโรคและการตั้งครรภ์ • ให้บริการวางแผนครอบครัว

ความครอบคลุมของการดำเนินกิจกรรมชุมชน ขับเคลื่อนให้ อปท บรรจุแผนงานการพัฒนาคุณภาพชีวิตเยาวชน เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร STIs ในแผน 3 ปี ของอปท.หรือ กองทุนสุขภาพตำบล มีแกนนำในการขับเคลื่อน ดังนี้ - ศูนย์ประสานงานประชาคมเอดส์จังหวัด - องค์กรเอกชน เช่น มูลนิธิรักษ์ไทย เครือข่ายฟ้าสีรุ้ง PPAT เครือข่ายคนคอน

ความครอบคลุมของการดำเนินกิจกรรมชุมชน • จัดทำหลักสูตร นำร่อง “เรื่องเพศคิดให้เยอะ” กับ อบต.เขต อ.เมือง อ.บางขัน เพื่อใช้อบรมเยาวชนนอกระบบการศึกษา

ความครอบคลุมของการดำเนินกิจกรรมชุมชน สนับสนุนให้เยาวชนมีส่วนร่วมในการวางแผนและกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม เอดส์ และ STIs ได้แก่ - กลุ่มมหาสดัม - กลุ่ม SCT(ทุ่งสง) - กลุ่มลิกอร์ - เครือข่ายยุวทัศน์ - ชมรม TO BE Number 1 - กลุ่มถมนะโม

ขอบคุณและสวัสดี มณฑา เพชรพันธ์ ผู้นำเสนอ

คำขวัญในการรณรงค์ เนื่องในวันวาเลนไทน์ ปี ๒๕๕๔ คำขวัญในการรณรงค์ เนื่องในวันวาเลนไทน์ ปี ๒๕๕๔ • วัยใส ใช้ความคิด เคารพสิทธิ ร่วมรับผิดชอบ •

ความครอบคลุมของการดำเนินกิจกรรมในสถานศึกษา • ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนการสอนเพศศึกษารอบด้านในสถานศึกษา • การศึกษาตามอัธยาศัย มีการจัดกิจกรรมสอนทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร โรคเอดส์และ STIs