ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายกิจธุระ.
Advertisements

สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
สวัสดี ทุกคน !.
สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่งเนตร
เรื่อง คำสรรพนาม.
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
ผู้จัดทำ นางนพมาศ สวัสดินันทน์ ตำแหน่ง ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย
คำราชาศัพท์ จัดทำโดย นางสาวสมพร อ่อนละออ.
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
คำคล้องจอง หนู ปู ดูรูงู ปูนา ขาเก
ภาพรวมของหน่วยจัดการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่อยการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
ประโยคความซ้อน หรือ สังกรประโยค
คำกริยา.
คำวิเศษณ์.
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
คำกริยา.
คำสรรพนาม.
คำวิเศษณ์.
เรื่อง คำอุทาน.
คำนาม.
นำเสนอหนังสือวิชาการ
นางสาวสมาพร เอี่ยมจรูญ
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
สอนเสริมภาษาไทย เรื่องการใช้ภาษาเพื่อพัฒนาความคิด
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด
วิชาภาษาไทย เรื่อง คำพ้อง นำเสนอโดย กลุ่ม ๑.
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-6)
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
เรื่อง การเขียนรายงาน
เรื่อง การเขียนรายงาน
Parts of Speech ( ชนิดของคำ )
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
สื่อเพื่อส่งเสริม กระบวนการคิด
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
วิชาคอมพิวเตอร์ ง โครงงาน เรื่อง สนุกกับคำ เสนอ
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
สื่อ CAI เรื่อง คำนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
การเขียน.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
การฟังเพลง.
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2
บันทึกสัมภาษณ์นักเรียน มัธยมศึกษาต้น สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ ๔ วิชาเอกการสอน ภาษาอังกฤษ สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
สนุกกับชนิดของคำ เรื่อง คำอุทาน สรุปแผนผังความคิด เรื่องคำอุทาน
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
แผนการจัดการเรียนรู้
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
เรื่อง ประโยค.
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
สื่อเสริมความรู้เรื่อง คำ ร หัน (รร)
หน่วยที่ ๖ การเขียนประชาสัมพันธ์
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
คำถามที่ให้ช่วยกันหาคำตอบ
การเขียนโครงการ.
สื่อการเรียนรู้ เรื่องเครื่องหมายวรรคตอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ผู้จัดทำ ครูวีรพงศ์ วิเศษสวัสดิ์

ผลการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานที่ ๔.๑ ผลการเรียนรู้ที่ ๕ เข้าใจในชนิดของคำ และหน้าที่ของคำในภาษาไทย

ชนิดของคำในภาษาไทย ชนิดของคำแบ่งออกเป็น ๗ ชนิด ดังนี้ ๑. คำนาม ชนิดของคำแบ่งออกเป็น  ๗  ชนิด    ดังนี้            ๑.  คำนาม           ๒.  คำสรรพนาม            ๓.  คำกริยา          ๔.  คำวิเศษณ์             ๕.  คำบุพบท           ๖.  คำสันธาน           ๗.  คำอุทาน

คำนาม  หมายถึง  คำที่ใช้เรียก คนสัตว์  สิ่งของ  สถานที่  อาการ  ลักษณะ  ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม  เป็นต้น ตัวอย่าง ฉันอยากไปเที่ยวประเทศฝรั่งเศส

อนุธิดาเป็นคนสวยเธอจึงเป็นที่รักของทุกคน   คำสรรพนาม หมายถึง   คำที่ใช้แทนนามหรือข้อความที่กล่าวมาแล้ว เพื่อไม่ต้องกล่าวข้อความนั้นซ้ำอีก     เช่น  ฉัน  เรา  ดิฉัน  กระผม  กู  คุณ   ท่าน  ใต้เท้า  เขา  มัน    ตัวอย่าง อนุธิดาเป็นคนสวยเธอจึงเป็นที่รักของทุกคน

อาจารย์คนนี้พูดมากจนนักศึกษาหลับทั้งห้อง   คำกริยา หมายถึง  คำแสดงอาการ  การกระทำ  หรือบอกสภาพของคำนามหรือคำสรรพนาม  เพื่อให้ได้ความ   เช่น วิ่ง   บิน   ตาย อ่าน  หัวเราะ  เป็นต้น ตัวอย่าง อาจารย์คนนี้พูดมากจนนักศึกษาหลับทั้งห้อง

ฉันมีเพื่อนอยู่หนึ่งคนที่กินจุ   คำวิเศษณ์ หมายถึง  คำที่ใช้ประกอบหรือขยายคำนาม  สรรพนาม  คำกริยา  หรือคำวิเศษณ์  เพื่อให้ได้ใจความชัดเจนและละเอียดมากขึ้น    ตัวอย่าง  ฉันมีเพื่อนอยู่หนึ่งคนที่กินจุ

บ้านของฉันอยู่ที่อำเภอทุ่งสง   คำบุพบท หมายถึง  คำที่ใช้นำหน้านาม  คำสรรพนาม  คำกริยา  หรือคำวิเศษณ์  เพื่อบอกตำแหน่งของคำ เหล่านั้นและแสดงความสัมพันธ์กันระหว่างคำหรือประโยค ว่าเกี่ยวข้องกันอย่างไร     ตัวอย่าง บ้านของฉันอยู่ที่อำเภอทุ่งสง

เพราะว่าอากาศหนาวพวกเราจึงไม่สบาย คำสันธาน หมายถึง  คำที่ใช้เชื่อมประโยค  หรือข้อความกับข้อความ เพื่อทำให้ประโยคนั้นรัดกุม กระชับและสละสลวย  เช่น คำว่า  และ   แล้ว  จึง  แต่  หรือ  เพราะ  เหตุเพราะ  เป็นต้น   ตัวอย่าง เพราะว่าอากาศหนาวพวกเราจึงไม่สบาย

ตัวอย่าง ว้าย ! ใครทำแก้วแตก   คำอุทาน หมายถึง  คำที่แสดงอารมณ์ของผู้พูดในขณะที่ตกใจ  ดีใจ  เสียใจ  ประหลาดใจ หรืออาจจะเป็นคำที่ใช้เสริมคำพูด  เช่น  อุ๊ย  เอ๊ะ  ว้าย  โธ่  อนิจจา  อ๋อ  เป็นต้น  ตัวอย่าง ว้าย !   ใครทำแก้วแตก

โชคดีครับ