Flag Ship 101,976,000 บาท 4 โครงการ เทียบเท่า ผลผลิตนอกเหนือจาก ผลผลิต ปวช./ ปวส./ ระยะ สั้น วิจัยองค์ความรู้ / วิจัยเพื่อ ถ่ายทอดเทคโนโลยี  Proj ความร่วมมือเพื่อ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
ที่โครงการงบประมา ณ ( บาท ) กลุ่มเป้าหม าย 5 โครงการส่งเสริมสวัสดิภาพเด็ก ปฐมวัยในชุมชน 21,000, เรื่อง 1 หลักสูตร มีทั้งสิ้น 7 โครงการ เป็นเงิน 148,655,200.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
หมวด รายจ่าย รวม 9, , , , , , , งบ บุคลากร 4, , ,
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดย.. วิทยาลัยการอาชีพเชียงราย
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์ เป็นแผนกที่ผลิตนักเรียน – นักศึกษา และฝึกอบรมวิชาชีพ ให้การบริการกับประชาชน ทั่วไปรอบ พื้นที่ อย่างทั่วถึงมีคุณภาพ และผลิตกำลังคนตรงตามความต้องการ.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
วิทยาลัยเทคนิคพิจิตร ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ
สำนักงานกศน.จังหวัดพัทลุง
ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจเพื่อการศึกษา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ประชาชนในหมู่บ้านมีความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ มิติคุณภาพการให้บริการ ชุมชนมีศักยภาพใน การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ มีคุณภาพได้ มาตรฐาน.
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
ณ. สีดารีสอร์ท อ. เมือง จ. นครนายก
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
ค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ งบกลาง 58,000 ล้านบาท.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
งานธุรกิจ สาระการงานอาชีพ และเทคโนโลยี.
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี การส่งเสริมพัฒนากลุ่ม อาชีพ ( พื้นฐาน ) เจ้าภาพ กพส. ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ สนับสนุนปัจจัยการผลิต.
ชื่อเรื่องวิจัย ผู้วิจัย นางเพียรทอง อุ่นบุญธรรม
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Flag Ship 101,976,000 บาท 4 โครงการ เทียบเท่า ผลผลิตนอกเหนือจาก ผลผลิต ปวช./ ปวส./ ระยะ สั้น วิจัยองค์ความรู้ / วิจัยเพื่อ ถ่ายทอดเทคโนโลยี  Proj ความร่วมมือเพื่อ ผลิตและพัฒนากำลังคน ด้านอาชีวศึกษา 14.1 ล้านบาท  Proj ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ 6.12 ล้านบาท  Proj จัดองค์ความรู้ใน การสร้างผู้ประกอบการ เพื่อเพิ่มมูลค่าการผลิตต่อ ยอดสินค้าและบริการ ล้านบาท  Proj คาราวานแก้จน ถนนอาชีพ 40 ล้านบาท ศูนย์ส่งเสริม ภาค ประสานงาน สรุปผลงาน จาก อศจ. เสนอ สอศ. ทั้ง 4 กิจกรรม

 Proj จัดการองค์ความรู้ในการสร้าง ผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มมูลค่า การผลิตต่อยอดและบริการ กลุ่มเป้าหมาย : นักศึกษาปีสุดท้าย ศิษย์เก่า ผู้ประกอบการ กลุ่ม OTOP วิสาหกิจชุมชน สถานศึกษา 12 คน (404 แห่ง *12 คน )  Proj คาราวานแก้จน ถนนอาชีพ กลุ่มเป้าหมาย : ประชาชนได้ฝึกอาชีพ : ประชาชนได้รับบริการจาก กิจกรรมอาชีวะร่วมด้วย ช่วยประชาชน ( เทศกาลปีใหม่ และเทศกาลวัน สงกรานต์ )

 Proj จัดตั้งศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ กลุ่มเป้าหมาย : สถานศึกษาละ 10 คน  Proj ความร่วมมือเพื่อผลิตและพัฒนา กำลังคนด้านอาชีวศึกษา กลุ่มเป้าหมาย : สถานประกอบการ 2 แห่ง ต่อสถานศึกษา (402 แห่ง * 2 คน ) นักเรียน นักศึกษา และผู้ทำงาน ในสถานประกอบการ 5 คน (402 แห่ง *5 คน )

 จัดถนนอาชีพอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี ทุกจังหวัด  สำรวจ วิเคราะห์ความต้องการ และฝึกอบรมเพื่อพัฒนา อาชีพให้แก่ประชาชน อศจ.ละไม่น้อยกว่า 650 คนต่อปี หรือรวมไม่น้อยกว่า 50,050 คน  จัดกิจกรรมร่วมด้วยช่วยประชาชนใน 77 อศจ. ไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปี ผู้รับบริการ อศจ.ละไม่น้อยกว่า 200 คน  การจัดการความรู้และพัฒนาบุคลากรระหว่างการปฏิบัติงาน

 สำรวจ และจัดทำ Profile ผู้ประกอบการในแต่ละประเภท  ศึกษาความต้องการของผู้ประกอบการ และความพร้อมของ สถานศึกษาการเชื่อมโยงเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญภูมิปัญญาท้องถิ่นในแต่ละสาขา  จัดฝึกอบรมกลุ่มเป้าหมายและส่งเสริมการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาอาชีพอย่างต่อเนื่อง สถานศึกษาละไม่น้อยกว่า 12 คน หรือเฉลี่ยในภาพรวม อศจ.  สร้างเครือข่ายและจัดการความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ วิสาหกิจ ชุมชน ผู้ประกอบการ SME ศิษย์เก่า และนักศึกษาปีสุดท้าย

 พัฒนาองค์ความรู้และสร้างทักษะให้นักเรียน นักศึกษา ในการเป็นผู้ประกอบการใหม่ไม่ต่ำกว่าสถานศึกษาละ 10 คน  จัดให้มีศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการใหม่ในระดับจังหวัด  บูรณาการสร้างผู้ประกอบการใหม่กับการเรียนการสอน และความต้องการของตลาดแรงงาน  ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มธุรกิจในสถานศึกษาอย่างน้อย สถานศึกษาละ1 ธุรกิจ

 สำรวจความต้องการกำลังคนระดับท้องถิ่น จังหวัด และภูมิภาค  สร้างความเข้าใจ ความเข้มแข็งและขยายเครือข่ายความร่วมมือ ในการจัดอาชีวศึกษาระหว่างสถานศึกษา สถานประกอบการ ชุมคน เพื่อผลิตกำลังคนร่วมกันให้ตรงตามความต้องการ  จัดทำฐานข้อมูลความร่วมมือระดับสถานศึกษา อศจ.  จัดทำคู่มือความร่วมมือระดับสถานศึกษา  สร้างความร่วมมือให้เกิดการพัฒนาเข้าสู่อาชีพใหม่  สถานศึกษาทุกแห่งจัดทำรายงานกิจกรรมความร่วมมือฯ รายสถานประกอบการไปยัง อศจ. และอศจ.จัดทำรายงานสรุปใน ภาพรวมจังหวัดเสนอสอศ.  สถานศึกษาละไม่น้อยกว่า 5 แห่ง หรือเฉลี่ยในภาพรวม อศจ.

อศจ. เป้าหมาย ( คน ) งบประมาณ ( บาท ) แผ น ผลแผนผล เชียงใหม่ , ,6 41 เชียงราย ,70 0 น่าน 11, , , ,0 88