โรงพยาบาลสวนสราญรมย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
ความหมายและกระบวนการ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นโยบายด้านบริหาร.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
สาขาจิตเวช.
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 10 ข้อ
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
ชัฌฎา ลอม ศรี นักจิตวิทยา แนวทางการ ดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ แนวทางการพัฒนางานสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นในระบบบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2556 โรงพยาบาลสวนสราญรมย์

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อระดมสมองในการจัดทำแนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิตเด็ก 1. เพื่อระดมสมองในการจัดทำแนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิตเด็ก และวัยรุ่น 2. เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น 3. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการให้บริการสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น

หลักการและเหตุผล ปัญหาสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น มีอุบัติการณ์สูงขึ้นและทวีความรุนแรงขึ้น ซึ่งจะเห็นได้จากสถิติผู้ป่วยจิตเวชเด็กที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี การเข้าถึงบริการได้น้อย มีความยุ่งยาก หลากหลายขั้นตอนก่อนที่จะได้รับบริการ ทำให้ผู้รับบริการไม่พึงพอใจเสี่ยงต่อการเกิดการฟ้องร้องได้ กรมสุขภาพจิตมียุทธศาสตร์เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานสุขภาพจิตมีเป้าประสงค์ในการให้ประชาชนได้รับการดูแลและเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ในปี พ.ศ. 2555-2556 ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ร้อยละ 20 - 25 หน่วยบริการสาธารณสุขระดับ รพสต รพช สามารถคัดกรองส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและให้คำแนะนำเบื้องต้นได้

ศูนย์สุขภาพจิต14แห่งทั่วประเทศ กระทรวงสาธารณสุข กรมสุขภาพจิต เป้าประสงค์ ศูนย์สุขภาพจิต14แห่งทั่วประเทศ ร.พ.เฉพาะทาง 18แห่ง กอง ส่วนกลาง สสจ. รพศ./รพท. รพช. PCU /สอ. ภาคประชาชน

รูปแบบการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น ปี 2556 กรมสุขภาพจิต รพ.จิตเวช รพช นิเทศ/ติดตาม/ประเมินผลการดำเนินงานในพื้นที่ Well baby clinic คัดกรองและกระตุ้นพัฒนาการ คลินิก psychosocial -สนับสนุนและรับส่งต่อปัญหาพัฒนาการจาก well baby clinic -สนับสนุนและรับส่งต่อปัญหาปัญหาสุขภาพจิตวัยรุ่นจาก รร.และชุมชน Output : 1. 50% รพศ. / รพท. มีบริการสุขภาพจิตและจิตเวชวัยรุ่น 2. 50%รพช. มีบริการพัฒนาการเด็กใน Well-baby Clinic 3. 50% รพช. มีบริการสุขภาพจิตวัยรุ่นใน Psychosocial Clinic Outcome: ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการดูแล - MR/ Autistic/ADHD LD เข้าถึงบริการ ร้อยละ 20 - ร้อยละ 70 ของเด็กไทยมี IQ-EQ ไม่ต่ากว่ามาตรฐาน (ประเมิน ปี 2559) - 50%ของนักเรียนที่มีปัญหาได้รับการส่งต่อและมีการดูแลทางด้านสังคมจิตใจ - พัฒนาการบกพร่อง 80% เด็กพัฒนาการบกพร่องได้รับการดูแล (ปี 57)

ตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ (กลุ่มเด็ก) ร้อยละ 50 ของรพศ รพท มีบริการสุขภาพจิตและวัยรุ่นระดับ 3 ร้อยละ 50 ของรพช มีบริการสุขภาพจิตและวัยรุ่นระดับ 3 หน่วยงานดำเนินการในพื้นที่และรับการประเมิน ได้แก่ - หน่วยบริการสาธารณสุขระดับ รพศ รพท รพช ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน (ชุมพร สุราษฏร์ นครศรี ภูเก็ต กระบี่ พังงา ระนอง )

แนวทางดำเนินงาน รอบ ๖ เดือนแรก รอบ ๖ เดือนหลัง ๑.ร่วมประชุมวางแผนและชี้แจงในพื้นที่ ๒.ประเมินตนแองตามมาตรฐานเด็ก ๓. ส่งประเมินตนเองตามมาตรฐานเด็กพร้อมจัดทำแผนพัฒนาของหน่วยงานในพื้นที่ รอบ ๖ เดือนหลัง ๑. รับนิเทศ ติดตาม ในพื้นที่ ๒. จัดทำโครงการตามแผนงานที่กำหนดไว้ ๓. สรุปปัญหา ข้อเสนอแนะการดำเนินงานในพื้นที่

หลักฐาน/กำหนดส่ง รอบ ๖ เดือนแรก รอบ ๖ เดือนหลัง -รายงานผลการนิเทศ รอบ ๖ เดือนหลัง -รายงานผลการนิเทศ -แนวทางการบริหารจัดการให้เกิดการพัฒนาการเด็ก -รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ ๖ เดือนแรก เอกสาร/หลักฐานการประเมินตนเองและแผนงานโครงการในพื้นที่ ส่งก่อน ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๖

(ร่าง) แนวทางพัฒนาคุณภาพบริการ สุขภาพจิตและจิตเวชเด็กและวัยรุ่น (ร่าง) แนวทางพัฒนาคุณภาพบริการ สุขภาพจิตและจิตเวชเด็กและวัยรุ่น โรงพยาบาลสวนสราญรมย์

บริการสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กและวัยรุ่น 1.บุคลากร 2.สถานบริการ 3.ขีดความสามารถระบบบริการ 31. การตรวจวินิจฉัย 3.2 การส่งเสริมพัฒนาการ 3.3การส่งเสริมป้องกัน 3.4ระบบยา 3.5 ด้านการส่งต่อ 3.6ด้านการติดตามดูแล

สวัสดี