สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
Advertisements

NetLibrary จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ.
นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ฐานข้อมูล Nursing Resource Center
รายละเอียดของการทำ Logbook
Lecture 10 : Database Documentation
Thesis รุ่น 1.
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
รหัสวิชา SOHU 0022 Information Literary
รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 10 หนังสืออ้างอิง
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
คู่มือการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ Science Online
Single Search คืออะไร ? เทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศรูปแบบใหม่ที่ สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอนในการเข้าถึงสารสนเทศฉบับเต็ม ผู้รับบริการสืบค้นข้อมูลครั้งเดียว แต่ได้รับสารสนเทศที่ต้องการจากหลายๆ.
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
วิชาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การสืบค้นสารสนเทศ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
วิเคราะห์และสร้างสรรค์สารสนเทศ (Information Analysis and Creativity)
การสืบค้น ฐานข้อมูล กลุ่มงานบริการสารสนเทศ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
OPAC (Online Public Access Catalog)
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
หนังสืออ้างอิง.
WEB OPAC.
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สื่อการสอน : การทำรายการ 2 (6) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (3) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (4) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (3)
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (5) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (1) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (1)
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (7) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : เว็บไซต์สำนักวิทย บริการ สถาบันราชภัฏ อุตรดิตถ์ รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ ศาสตร์ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ.
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : การทำรายการ 2 (3) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
งานเพื่อเสริมศักยภาพทาง วิชาการของ นักศึกษาวิชาเอก บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ สำหรับวิชา : ความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ รองศาสตราจารย์ปัญญา.
รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 2547
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์น. เวลาทำการ A-FAR วันจันทร์ - ศุกร์ น. วันเสาร์ - อาทิตย์ น. U-FAR วันจันทร์ - ศุกร์
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
วณิชากร แก้วกัน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ.
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
รายงานการศึกษาค้นคว้า
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การประกาศ การประกาศ คือ การทำให้สาธารณชนทราบข่าวสารเรื่องเดียวกันอย่างแพร่หลาย โดยอาศัยสื่อสาธารณะชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ป้ายประกาศสาธารณะ.
ค้นเจอหนังสือที่ต้องการ ใน library catalog
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
หนังสือที่ให้เรื่องราว ข้อเท็จจริง ต่าง ๆ มีการเรียงลำดับ อย่างเป็นระบบ และมี เครื่องมือช่วยค้นที่ดี ทำ ให้สะดวก และรวดเร็วในการค้น.
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
หน้าจอการสืบค้น (OPAC)
CPE Project 1 บทที่ 2. ภาพรวม บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ ทฤษฎี (theory) = สมมติฐานที่ได้รับการตรวจสอบ และทดลองหลายครั้งหลายหนจนสามารถอธิบาย ข้อเท็จจริงสามารถคาดคะเนทำนายสิ่งที่เกี่ยวข้อง.
Dissertation Full text เป็นการ สืบค้นด้วยระบบ IR-Web โดยมีขอบเขต เนื้อหา เป็นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม อิเล็กทรอนิกส์ 3,850 ชื่อเรื่อง ที่สำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน panya@mail.riu.ac.th

เครื่องมือสำคัญในการค้นหาสารสนเทศในห้องสมุด บัตรรายการ / รายการค้น 9 เลขหมู่ 025.3 ป 113 ก ปัญญา / สุขแสน. / /การจัดทำบัตรรายการ 1 / ปัญญา สุขแสน. / / พิมพ์ครั้งที่ 6 / แก้ไขเพิ่มเติม. --อุตรดิตถ์ / : / สถาบัน ชื่อเรื่อง ราชภัฏอุตรดิตถ์, / 2541. / / 326 / หน้า / : / ภาพประกอบ, / ตาราง. หัวเรื่อง / / 1. / บัตรรายการ. / / I. / ชื่อเรื่อง. เครื่องมือสำคัญในการค้นหาสารสนเทศในห้องสมุด

มีส่วนประกอบสำคัญ คือ มีส่วนประกอบสำคัญ คือ เลขหมู่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ ครั้งที่พิมพ์ พิมพลักษณ์ บรรณลักษณ์ หัวเรื่อง (ในแนวสืบค้น)

ความหมายของบัตรรายการ : Card catalog คือ บัตรที่ใช้บันทึกข้อความสำคัญของหนังสือ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการค้นหาหนังสือ ให้สะดวก รวดเร็ว ตอบปัญหาว่าหนังสือที่ต้องการในห้องสมุดมีหรือไม่ หากมีอยู่ ณ ตำแหน่งใดในห้องสมุด ศาสตราจารย์ฉวีลักษณ์ บุญยะกาญจน บัตรรายการ คือ บัตรบันทึกรายการสำคัญต่าง ๆ ของหนังสือ อันเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้

ศาสตราจารย์สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์ ศาสตราจารย์สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์ คือ บัตรบันทึกรายการต่าง ๆ ที่ผู้อ่านควรทราบเกี่ยวกับหนังสือ เช่น ชื่อผู้แต่ง เลขหมู่ ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์ จำนวนชื่อหรือจำนวนเล่ม ภาพประกอบ บันทึกพิเศษ ของการจัดพิมพ์เลขมาตรฐานสากล และแนวสืบค้น Gates : บัตรรายการ คือ ดรรชนีตำแหน่งที่ตั้งของหนังสือเป็นเครื่องมือสำหรับผู้อ่าน ใช้ค้นหาหนังสือและบอกตำแหน่งที่ตั้งของหนังสือมีการจัดเรียงตามลำดับตัวอักษร ตามประเภทของบัตร เช่น บัตรผู้แต่ง บัตรชื่อเรื่อง บัตรหัวเรื่อง

รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน บัตรรายการ คือ การบันทึกข้อมูลของวัสดุห้องสมุดแต่ละชื่อเรื่องเป็นเครื่องมือสำหรับค้นหา และให้ข้อมูลสำคัญเบื้องต้นของวัสดุห้องสมุด

บัตรรายการ สามารถตอบปัญหาได้ดังนี้ ชื่อผู้แต่งหนังสือที่ต้องการมีหรือไม่ ชื่อเรื่องของหนังสือที่ต้องการมีหรือไม่ ผู้แต่งคนที่ต้องการแต่งหนังสือชื่อเรื่องอะไรบ้าง ครั้งที่พิมพ์ของหนังสือที่ต้องการมีหรือไม่ ชุดหนังสือที่ต้องการมีหรือไม่

ประเภทของชื่อเรื่องที่ต้องการมีหรือไม่ มีของใครแต่ง/เขียนบ้าง นักประพันธ์ที่ใช้นามแฝงมีนามจริงว่าอะไร หนังสือชื่อเรื่องนี้มีเลขหมู่ / ตั้งอยู่ที่ใด หนังสือเล่มที่ต้องการจัดพิมพ์มานานแล้วเท่าใด หนังสือเล่มที่ต้องการมีเนื้อหามากน้อยเพียงใด ทราบถึงเลขหมู่ หรือเนื้อหาโดยสังเขป

เกี่ยวข้องกับงานสำคัญ ดังนี้ บัตรรายการ เกี่ยวข้องกับงานสำคัญ ดังนี้ งานจัดหมู่ (Classification) (อาศัยคู่มือ D.C. หรือ L.C. หรืออื่น ๆ) งานพรรณนาข้อมูลในบัตรรายการ (Descriptive Cataloging) ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ พิมพลักษณ์ บรรณลักษณ์ (อาศัยข้อมูล จากตัวหนังสือ)

งานจัดทำบัตรรายการ (รายการค้น) เกี่ยวข้องดังนี้ งานจัดหมู่(กำหนดเลขหมู่ Classification) หนังสือเลขหมู่ ระบบ D.C. / L.C. งานพรรณนาข้อมูลในบัตรรายการ (Descriptive Cataloging) ตัวหนังสือ - ผู้แต่ง/ผู้รับผิดชอบ - ครั้งที่พิมพ์ - พิมพลักษณ์ - บรรณลักษณ์ - AACRII

งานรายการหลัก (Entry Heading work / Main entry) งานลงรายการบรรทัดแรกของบัตรรายการ ตัวหนังสืออาศัยทฤษฎีการลงนามผู้แต่ง ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ตัวหนังสือ

กิจกรรมที่ 2 แบ่งนักศึกษาเป็น 3 กลุ่ม แต่ละกลุ่มศึกษาขั้นตอนในงานฝ่ายบัตรรายการและฐานข้อมูลในสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ นักวิชาการอธิบายระบบงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ศึกษาการป้อนข้อมูลผ่านโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ Work Sheet / Barcode บันทึกขั้นตอนทุกระบบของงานจัดทำบัตรรายการ และสร้างฐานข้อมูล (ยกเว้นงานเทคนิค) ศึกษาจาก Flow Chart ที่ http://library.riu.ac.th