สื่อการสอน (1) : ความรู้เบื้องต้นทางบรรณารักษศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
Advertisements

ทรัพยากรสารสนเทศ.
Online Public Access Catalog
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปีการศึกษา 2555
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การบริหารงานของห้องสมุด
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การดำเนินงานด้านการบริการ
การจัดการบริการสารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
งานข้อมูลท้องถิ่น สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
การสืบค้นฐานข้อมูล CNKI China National Knowledge Infrastructure
วิชาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
วัสดุสารสนเทศ หมายถึง วัสดุหรือสื่อ (Media) ที่ใช้บรรจุสารสนเทศ
เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
WEB OPAC.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วัสดุไม่ตีพิมพ์.
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
กระบวนการค้นหาสารสนเทศ
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
Ebsco Discovery Service (EDS)
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
สื่อการสอน : การทำรายการ 2 (6) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
วิทยนิวส์ สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
บรรยาย โดย รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (3)
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (1) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (1)
สื่อการสอน : เว็บไซต์สำนักวิทย บริการ สถาบันราชภัฏ อุตรดิตถ์ รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ ศาสตร์ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ.
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : การทำรายการ 2 (3) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
งานเพื่อเสริมศักยภาพทาง วิชาการของ นักศึกษาวิชาเอก บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ สำหรับวิชา : ความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ รองศาสตราจารย์ปัญญา.
รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 2547
สื่อความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ ( 4 ). การดำเนินงานภายใน ห้องสมุด ห้องส มุด จะให้บริการได้ดีสมบูรณ์ ต้อง ประกอบด้วย องค์ประกอบต่อไปนี้ วัสดุห้องสมุด.
สื่อความรู้เบื้องต้นทางบรรณารักษ์ศาสตร์
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์น. เวลาทำการ A-FAR วันจันทร์ - ศุกร์ น. วันเสาร์ - อาทิตย์ น. U-FAR วันจันทร์ - ศุกร์
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
ฐานข้อมูล Science Direct
ทรัพยากรห้องสมุด.
ทรัพยากรห้องสมุด หนังสือ ตำรา วารสารสื่อมัลติมีเดียทันสมัยสอดคล้องกับการสอน.
ห้องสมุดคณะวิจิตรศิลป์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
น. ส. วรัญตี การะเกตุ ED1S B ระบบสารสนเทศสำนัก หอสมุดกลาง ให้บริการต่างๆ อาทิ เช่น - บริการยืม – คืนหนังสือ Online - การสืบค้นหนังสือ.
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
รูปแบบการบริการสารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปี การศึกษา
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศ วัสดุ หรือ สื่อ ที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อการสอน (1) : ความรู้เบื้องต้นทางบรรณารักษศาสตร์ สื่อการสอน (1) : ความรู้เบื้องต้นทางบรรณารักษศาสตร์ โดย รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์

SOURCE Http://library.riu.ac.th Books Online วิทยนิวส์ Library Link Interesting Link Search Engine

บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ ประวัติความเป็นมา บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ บริการโสตทัศนวัสดุ บริการวัสดุตีพิมพ์ แผนผังชั้นต่าง ๆ

การแนะนำตัวของนักศึกษา ชื่อ - สถาบัน เหตุจูงใจที่เรียนวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ จงระบุความเข้าใจวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์

ผู้ที่รู้จักประสบความสำเร็จในอนาคต Digital World Knowledged based people Reading Habits English language Internet using ability Good manner / Good culture

งานโทคโนโลยีสารสนเทศ งานเทคนิค งานพัฒนาทรัพยากร งานวารสารและ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง งานบริการ งานโสตทัศนวัสดุ งานโทคโนโลยีสารสนเทศ LEARNED PEOPLE Library

Service of Modern Library Printed Materials Non-Print Materials (AV-Materials) Electronic Information

Information Technology Library Automation Software Information Technology Internet Students

กิจกรรม ให้นักศึกษา ศึกษาลักษณะ การจัดบริการของสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์

ห้องสมุด = แหล่งรวบรวมทรัพยากรความรู้ของมนุษยชาติ ห้องสมุด = แหล่งรวบรวมทรัพยากรความรู้ของมนุษยชาติ Library มาจากภาษาละติน Liberia = ที่เก็บหนังสือ โดยมีรากศัพท์มาจาก liber = หนังสือ

ฝรั่งเศส (Bibliotheque) อิตาเลียน (Biblioteca) เยอรมัน (Bibliothet) รัสเซีย (Bibioteka) ญี่ปุ่น (Tosho - Shitsu) อังกฤษ (Library) บรรณารักษ์ (Librarian)

มนุษย์มี library กว่า 3,500 ก่อน BC ความรู้ - การพัฒนา - ความเจริญ - มั่งมี ศรีสุข วัสดุบันทึกความรู้ หิน ดินเหนียว

ปาปิรัส แผ่นหนัง ไม้ไผ่ ผ้าแพร กระดาษ

Great libraries of the world AV material Computer Software / HD Compact Disk Great libraries of the world

Royal library of King Ashurbanipal (Neneveh) 625 ปีก่อน BC The Great library of Alexandria (Alexandria) 275 ปีก่อน BC Pergamum library (Pergamum) ตุรกี 165 ปีก่อน BC

CLAY TABLETS < > 10,000 ก้อน SIR AUSTEN HENRY LAYARD (นักการฑูต / โบราณคดี) ขุดซากดินที่ Babylonia / Assyria พบห้องสมุดประชาชน อายุ 3,000 ปีก่อน BC CLAY TABLETS < > 10,000 ก้อน อักษร Cuneiform (รูปลิ่ม = Vedge - shaped)

ความสำคัญของ Library การศึกษา เศรษฐกิจ วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง สุขภาพอนามัย

บทบาทของห้องสมุดต่อสังคม ให้การศึกษาทั่วไป ช่วยเหลือการค้นคว้าวิจัย บริการข่าวสารต่าง ๆ บันเทิงพักผ่อนหย่อนใจ ความเข้าใจระหว่างชาติและภาษา การใช้เวลาว่างเกิดประโยชน์ พัฒนาศักยภาพ เกิดความรู้ และวัฒนธรรมของมนุษย์

UNIVERSITY & COLLEGE LIBRARY ประเภทของห้องสมุด PUBLIC LIBRARY NATIONAL LIBRARY UNIVERSITY & COLLEGE LIBRARY SCHOOL LIBRARY SPECIAL LIBRARY

กิจกรรม ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มค้นหา Website ของห้องสมุดประเภทต่าง ๆ ประเภทละ 5 Websites

Library การดำเนินงานของห้องสมุด วัสดุห้องสมุด ประเภทต่าง ๆ บรรณารักษ์ นักวิชาการ เจ้าหน้าที่ วัสดุห้องสมุด ประเภทต่าง ๆ อาคารสถานที่ Library งบประมาณ งานโทคโนโลยีสารสนเทศ / โสตทัศนวัสดุ ครุภัณฑ์

ลักษณะห้องสมุดสมัยใหม่ มี วัสดุหลากหลายรูปแบบ ครุภัณฑ์ทางโสตทัศนวัสดุ ครุภัณฑ์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร บรรยากาศ

การบริการที่ทันสมัย / รวดเร็ว งบประมาณ การประกันคุณภาพ Website โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ

วัสดุตีพิมพ์ (Printed material) บริการของ ห้องสมุด วัสดุไม่ตีพิมพ์ (Non-print material) วัสดุอิเล็กโทรนิกส์

สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องอื่น ๆ หนังสือ วารสาร / นิตยสาร หนังสือพิมพ์ วัสดุตีพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องอื่น ๆ

คอมแพ็คดิสก์ (Compact Disc) รายการโทรทัศน์ แถบบันทึกเสียง โสตทัศนวัสดุ แถบบันทึกภาพ คอมแพ็คดิสก์ (Compact Disc)

VCD (Video Compact Disc) DVD (Digital Video Disc) แผนที่ (MAP) รูปภาพ (Picture) Models

เทคโนโลยี สารสนเทศ ฐานข้อมูลวัสดุห้องสมุด (โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ) ฐานข้อมูลวัสดุห้องสมุด (โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ) Websites / Search Engines เทคโนโลยี สารสนเทศ CD - Rom ฐานข้อมูลทางวิชาการ http://library.riu.ac.th CD - NET NOTE - NET

โปรแกรมห้องสมุด อัตโนมัติ งานฐานข้อมูลรวม งานพัฒนาทรัพยากร โปรแกรมห้องสมุด อัตโนมัติ งานเทคนิค งานบริการ งานสืบค้นสารสนเทศ

กิจกรรม ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มศึกษาเนื้องานในแต่ละงานหลักว่ามีงานอะไรบ้าง (ศึกษาจากตัวโปรแกรม) อ่านจากวิทยนิวส์ http://library.riu.ac.th

Http://library.riu.ac.th

Website ของหอสมุดมหาวิทยาลัย ใน USA หรือ UK กิจกรรม แต่ละกลุ่มให้ศึกษา Website ของสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์มีการให้บริการ อะไรบ้าง แต่ละรายการมีประโยชน์อะไร? Website ของหอสมุดมหาวิทยาลัย ใน USA หรือ UK