เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
เอกสารเคมี Chemistry Literature
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
การถนอมอาหาร.
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำหมักกล้วย.
สบู่สมุนไพร.
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำหมักกล้วย.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ คืออะไร
โครงงานอาหารจีนหรรษา
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
โครงงานสุขภาพ การทดลองผงซักฟอก.
โดย: ด.ช.นพวิทย์ วงษ์เจริญ ด.ญ.ลักษิกา บูรณศักดิ์ศรี
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
เรื่อง การทำอาหารปลาจากธรรมชาติ
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง ขวดมหัศจรรย์พิชิตแมลงวัน
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง กำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยสมุนไพรธรรมชาติ
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
การปลูกพืชกลับหัว.
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
************************************************
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในบ่อเลี้ยงปลาดุก
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
เขียดเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบอัตราส่วนน้ำยาฟอกฆ่าเชื้อจากสารเคมีและสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเมล็ดหม้อข้าวหม้อแกงลิง.
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
1.ด.ญ.ธนากร อยู่คง 3.ด.ช.วธัญญู อู่นาท 4.ด.ญ.วราภรณ์ เมืองแก้ว
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
ส่วนผสมหน้าเค้ก นมเย็น
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
หลักการเลือกซื้ออาหาร
เรื่อง ข้าวเม่าทอด กลุ่มที่ 20 นางสาวรุจิรา เดชแฟง เลขที่ 22
1. นาย สุทธิเกียรติ์ เดชแฟง ม.5/3 เลขที่ 4
เรื่อง วุ้นสายรุ้ง จัดทำโดย นางสาว ผการัตน์ มาคง เลขที่ 12
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
อาหารใน ชีวิตประจำวัน
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน จัดทำโดย 1.เด็กหญิง จินดารัตน์ รูปใส เลขที่ 10 2.เด็กหญิง นุสบา ศรีปัญญา เลขที่ 11 3.เด็กหญิง ภัทราภรณ์ แลพล เลขที่ 13 4.เด็กหญิง สุพิชญา มุ่งงาม เลขที่ 20 5.เด็กหญิง หทัยชนก รวมธรรม เลขที่ 21 6.เด็กหญิง พัชรี ทองลือ เลขที่ 23 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4 เสนอ คุณครู ดนุภัค เชาว์ศรีกุล

1.กำหนดปัญหาหรือความต้องการ บริเวณที่เทเศษอาหารของโรงเรียนมักจะสกปรกและมีเศษอาหารที่นักเรียนกินเหลือสะสมอยู่มาก ซึ่งบริเวณนั้นจะเป็นแหล่งวางไข่และอาหารของแมลงวัน จุดมุ่งหมาย เพื่อไล่แมลงวันซึ่งเป็นพาหะของโรคต่างๆ

2.รวบรวมข้อมูล กลุ่มของพวกเราได้รวบรวมข้อมูล ดังนี้ 1.สัมภาษณ์อาจารย์ ณัฐวดี วังสินธ์ เรื่อง การทำน้ำยาจากเศษผัก(วัสดุอุปกรณ์ การผลิต การใช้) 2.ค้นหาจากอินเทอร์เน็ตในหัวข้อเรื่อง 1.วงจรชีวิตของแมลงวัน 2.วิธีกำจัดแมลงวัน 3.น้ำยาชนิดต่างๆที่ใช้กำจัดแมลงวัน(สารเคมีและน้ำหมัก) 4.การทำน้ำยากำจัดแหล่งอาหารของแมลงวัน(วัตถุดิบ อุปกรณ์และวิธีทำ) 5.การเปรียบเทียบว่าใช้น้ำยากับไม่ใช้น้ำยาแตกต่างกันอย่างไร 6.ประโยชน์ที่จะได้รับจากน้ำยาที่ผลิตขึ้น

3.เลือกวิธีการ จากการศึกษาพบว่า การไล่แมลงวันนั้นมีหลายวิธี เช่น การผลิตน้ำยา การทำ ตาข่ายปิดฝาที่เทเศษอาหารเพื่อไม่ให้แมลงวันเข้าไป และการทำฝาครอบอาหาร แต่กลุ่มของพวกเราเลือกวิธีการผลิตน้ำยา เพราะวัตถุดิบเป็นเศษผักที่เหลือใช้จากการประกอบอาหารซึ่งสามารถหาได้ง่าย และขบวนการผลิตทำได้ไม่ยุ่งยาก

4.ออกแบบและปฎิบัติการ 1.นำเศษผักคะน้า ผักบุ้ง ผักกะหล่ำ ที่เตรียมไว้ 5 กิโลกรัมมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ เมื่อหั่นแล้วจะได้จำนวนของผัก 2 กิโลกรัมแล้วแบ่งเศษผักออกเป็นสองส่วน ส่วนละ 1 กิโลกรัม 1 2.นำส่วนที่1ใส่ลงในถัง นำโบกาฉิ 1 ช้อนโต๊ะ โรยลงไป นำส่วนที่ 2 เททับลงไป แล้วนำโบกาฉิ 1 ช้อนโต๊ะ โรยทับลงไป 2 3.นำน้ำใส่ถ้วยตวง 100 ซีซี เทกากน้ำตาลใส่ 1 ฝา EM อีก 1 ฝา ผสมลงแล้วคนให้เข้ากัน 3 4.นำส่วนที่ผสมไว้เทราดลงบนผักให้ทั่ว แล้วปิดฝาหมักไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ 4 5 5.เมื่อครบ 1 สัปดาห์ เปิดถังแล้วนำน้ำหมักมาใช้ *หมายเหตุ เศษผักที่หมักแล้วสามารถนำมาใส่ต้นไม้ได้

5.ทดสอบ วัตถุดิบ อัตราส่วน อุปกรณ์ ขนาด วิธีผลิตน้ำยา ผลการผลิต 1.เศษผัก 5 กิโลกรัม ถังพลาสติก 5 ลิตร 1. นำเศษผักบุ้ง คะน้าที่เตรียมไว้ 5 กิโลกรัม มาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ จำนวน 2 กิโลกรัมแบ่งเศษผักออกเป็นสองส่วนๆ ละ 1 ก.ก 2. นำส่วนที่หนึ่งใส่ลงในถัง นำโบกาฉิ โรย 1 ช้อนโต๊ะ แล้วนำส่วนที่สองเททับลงไปแล้วนำโบกาฉิ 1 ช้อนโต๊ะ โรยทับลงไป 3. ตักน้ำใส่ถ้วยตวง100 ซีซี นำกากน้ำตาล ใส่ 1 ฝา และEM 1 ฝา ผสมลงไป แล้วคนส่วนผสมให้เข้ากัน 4. นำส่วนผสมจากข้อ 3 เทราดลงบนผักปิดฝาหมักไว้หนึ่งสัปดาห์แล้วนำน้ำหมักมาใช้ ได้น้ำหมัก สีน้ำตาลขุ่น กลิ่นเหม็น และมีเชื้อราปะปนอยู่กับผัก 2.กากน้ำตาล 1 ฝา ถ้วยตวง 150 ซีซี 3.EM 1 ฝา 4.โบกาฉิ 2 ช้อนโต๊ะ

6.ปรับปรุงแก้ไข จากการทดลองได้ใส่ส่วนผสมEM ลงไป 1 ฝาครึ่ง (30 ซีซี) ทำให้เกินอัตราส่วน 1 ฝา ที่กำหนดไว้ ส่งผลให้ได้น้ำหมักที่ ไม่มีประสิทธิภาพ

7.ประเมินผล จากการทดลองผลิตน้ำยาไล่แมลงวัน วัตถุดิบที่ใช้มีอัตราส่วน ดังนี้ เศษผัก(ที่หั่นแล้ว) 2 กิโลกรัม กากน้ำตาล 1 ฝา EM 1 ฝา และโบกาฉิ 2 ช้อนโต๊ะ อัตราส่วน 2:1:1:2 ผลิตน้ำยาไล่แมลงวันได้ 300 ซีซี

การนำน้ำยาไล่แมลงวันไปใช้ จำนวนน้ำยาที่นำไปใช้(ลิตร) ตารางบันทึกผล การนำน้ำยาไล่แมลงวันไปใช้ จำนวนน้ำยาที่นำไปใช้(ลิตร) สัปดาห์ที่ ผลการทดลอง 1 ลิตร 1 สังเกตเห็นแมลงวันลดลงไม่มากเพราะเพิ่งทดลองใช้ 2 สังเกตเห็นแมลงวันเริ่มลดน้อยลงจากสัปดาห์ที่ 1 แต่ก็ยังมีมาก 3 สังเกตเห็นแมลงวันลดน้อยลงมาก หมายเหตุ วิธีใช้น้ำยาไล่แมลงวัน เทน้ำยาราดบริเวณรอบๆเศษอาหาร

การคำนวณต้นทุนการผลิต รายการ จำนวนเงิน 1. ต้นทุน 1.1 เศษผัก 5 กิโลกรัม 1.2 EM 1 ฝา 1.3 กากน้ำตาล 1 ฝา 1.4 โบกาฉิ 2 ช้อนโต๊ะ 1.5 ค่าแรง รวมต้นทุน 2.ราคาขาย 3.กำไร - 5 20 25 หมายเหตุ น้ำยาไล่แมลงวัน 1 ขวด ปริมาตรสุทธิ 300 ซีซี

เสียงสะท้อนจากผู้เรียน 1.ได้ฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานร่วมกัน ทำให้เกิดความสามัคคี 2.ได้เรียนรู้นอกสถานที่และได้ลงมือปฏิบัติจริง 3.ได้แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน 4.ได้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยี

บรรณานุกรม แมลงวัน(ออนไลน์). ม.ป.ป.(อ้างเมื่อ 17 มกราคม 2554). จากhttp://www.ppmnorth.com/index.php?lay=show&ac=article&Ntype=2&Id=5342709. น้ำหมัก(ออนไลน์).ม.ป.ป.(อ้างเมื่อ 17 มกราคม 2554). จาก http://tourguide.thde.com/-View.php?N=76. วิธีกำจัดแมลงวัน(ออนไลน์).มปป. (อ้างเมื่อ 17 มกราคม2554). จากhttp://www.rakbankerd.com/agriculture/wb/show.php?Category=agriculture&No=13049 ณัฐวดี วังสินธ์. การทำน้ำยาจากเศษผัก(สัมภาษณ์). ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร, 24 กุมภาพันธ์ 2554