การ Generate text file ให้เป็นชั้นข้อมูล ArcView

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

ปฏิบัติการที่ 4 การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
HTML Language ภาษา HTML คืออะไร ? HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนา web page เพื่อให้โปรแกรม web brower ต่างๆ (Internet Explorer,
ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม
วัตถุประสงค์ของการปรับแก้เชิงเรขาคณิต
การประยุกต์ Excel ในการทำโครงการและแผนประจำปี วันที่ 6 ก.พ. 2557
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
ขั้นตอนการออกแบบทาง.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
By Mr.Piched Tanawattana ส่วนประกอบของ Excel แถบชื่อเรื่อง Title bar ปุ่มควบคุม Control Button เวิร์กชีต Worksheet แถบสถานะ Status bar แถบเมนู Menu.
Project Management.
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
Arrays.
ตัวอย่างขั้นตอนในการสืบค้นข้อมูล
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
การประยุกต์ใช้แบบจำลอง SOBEK
การใช้งาน Microsoft Excel
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
ปฏิบัติการที่ 1 การนำเสนอข้อมูลจากการทดลอง
บทที่ 9 การใส่รูปภาพ (Image).
บทที่ 6 โครงสร้างของเว็บ.
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 5 พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary
โปรแกรมประเมินค่าเสียหายทางสิ่งแวดล้อมบางประการหลังการทำลายป่าไม้
การเขียนรายงานการวิจัย
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
รายงาน เรื่อง พื้นฐาน Microsoft Excel จัดทำโดย
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
เรื่อง คีย์ลัดที่ควรทราบ จัดทำโดย ด. ช. ธีธัช สุวัณณวะยัคฆ์ ชั้น ม.2/4 เลขที่ 1 เสนอ อ. ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
การประยุกต์ใช้ ง การเขียนโปรแกรมบนระบบไร้ สาย.
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
ความก้าวหน้าโครงงานวิศวกรรม
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
การ Generate ชั้นข้อมูล ArcView ให้เป็น ตาราง
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
3.3.2 การวิเคราะห์ การเรียกใช้ข้อมูล และการทำรายงานจากฐานข้อมูล
การ Generate ตารางข้อมูลให้เป็นแผนที่โดยใช้ ArcView
บทที่ 7 การแทรกตาราง กราฟ และแผนผัง
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
การเรียนรู้ Internet Explorer 6.0
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
Geographic Information System
คู่มือการปรับแต่ง / จัดทำข้อมูลเงินเดือน เพื่อส่งให้ สสจ. ผ่านระบบ website โดยมรกต พิมพาเลีย สสจ. อุดรธานี
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 4 การทำงานกับรายงาน (Report)
วาดรูปด้วย Paint ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ซอฟต์แวร์ ที่สนใจ Ulead Photo Express
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
หลักการแก้ปัญหา.
ผังงาน (FLOW CHART) ส่วนประกอบของผังงาน (Flow Chart)
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
ดินถล่ม.
การวิเคราะห์เชิงพื้นที่
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
Introduction EndNote เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลทางบรรณานุกรมที่ได้มาจากการบันทึกข้อมูลด้วยตนเอง การสืบค้นและถ่ายโอน (Import) ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง.
การใช้โปรแกรม Arc View 3.1
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การ Generate text file ให้เป็นชั้นข้อมูล ArcView - จุด - เส้น - และพื้นที่ pipat5678@hotmail.com

การ Generate text file ให้เป็นชั้นข้อมูล ArcView 1.ถ้าไม่มีextension ชื่อ generate text to shapeให้ copy file ชื่อ g2sv50.avx และ g2sv50a.avx ไปใส่ไว้ใน C(หรือไดรฟ์ที่เป็นที่อยู่โปรแกรม) :\Esri\AV_GIS30\ARCVIEW\EXT32 2.เลือก extension ชื่อ generate text to shape 3.รูปแบบพื้นฐานของ ASCII text file ของ 2D รูปแบบของไฟล์ที่นำเข้านั้น อ้างอิงรูปแบบมาตราฐานของ ArcInfo generate file format ซึ่งเป็นรูปแบบอย่างง่ายของ ASCII text files ที่สามารถสร้าง shape file ขึ้นมาโดยการแปลงข้อมูลด้วย script โดยต้องอยู่ในรูปแบบที่กำหนดที่จะอธิบายข้างล่าง และสามารถสร้าง ไฟล์นี้ได้ด้วย text editors ทั่วๆ ไป เช่น NotePad pipat5678@hotmail.com

การ Generate text file ให้เป็นชั้นข้อมูล ArcView points feature (รูปแบบมาตรฐาน): ID, X, Y END ตัวอย่าง point features (สามารถคัดลอกลง Note Pad ได้) 51,1509072,724438 52,1510353,724074 53,1510171,723027 54,1511434,722009 end มี 4 ชุดข้อมูลแสดงว่ามี 4 จุด pipat5678@hotmail.com

การ Generate text file ให้เป็นชั้นข้อมูล ArcView pipat5678@hotmail.com

การ Generate text file ให้เป็นชั้นข้อมูล ArcView ตัวอย่าง line features 1051 1509072,724438 1510171,723027 1510549,722256 1510788,721845 1511574,720246 1512043,719932 end 1052 1510353,724074 lines feature (รูปแบบมาตรฐาน): ID X, Y END เป็นจุดเดียวกันแสดงว่า 2 เส้นนี้จะชนกันที่จุดนี้ pipat5678@hotmail.com

การ Generate text file ให้เป็นชั้นข้อมูล ArcView 1510171,723027 pipat5678@hotmail.com

การ Generate text file ให้เป็นชั้นข้อมูล ArcView ตัวอย่าง polygon features จุดเริ่มต้น และจุดสิ้นสุดที่จุดเดียวกัน 2051,1509072,724438 1510171,723027 1510549,722256 1510788,721845 1511574,720246 1509775,720387 1509072,724438 end 2055,1509775,720387 1512043,719932 polygons feature (รูปแบบมาตรฐาน): ID, X, Y X, Y END จุดเดียวกัน จุดเดียวกัน มีด้านร่วมกัน pipat5678@hotmail.com

การ Generate text file ให้เป็นชั้นข้อมูล ArcView 1509775,720387 1511574,720246 pipat5678@hotmail.com

การ Generate ชั้นข้อมูล ArcView ให้เป็น ตาราง การหาค่าพิกัดในระบบ GIS แล้วส่งออกเป็น EXCEL pipat5678@hotmail.com

การ Generate ชั้นข้อมูล ArcView ให้เป็น ตาราง คำสั่ง View/Newtheme เลือกชนิด เช่น point แล้วจุดลงบนตำแหน่งข้อมูลที่เราไปสำรวจจริง (อาจสังเกตจาก landmark) pipat5678@hotmail.com

การ Generate ชั้นข้อมูล ArcView ให้เป็น ตาราง คำสั่ง View/Newtheme เลือกชนิด เช่น point แล้วจุดลงบนตำแหน่งข้อมูลที่เราไปสำรวจจริง (อาจสังเกตจาก landmark) pipat5678@hotmail.com

การ Generate ชั้นข้อมูล ArcView ให้เป็น ตาราง คำสั่ง View/Newtheme เลือกชนิด เช่น point แล้วจุดลงบนตำแหน่งข้อมูลที่เราไปสำรวจจริง (อาจสังเกตจาก landmark) pipat5678@hotmail.com

การ Generate ชั้นข้อมูล ArcView ให้เป็น ตาราง คำสั่ง View/Newtheme เลือกชนิด เช่น point แล้วจุดลงบนตำแหน่งข้อมูลที่เราไปสำรวจจริง (อาจสังเกตจาก landmark) pipat5678@hotmail.com

การ Generate ชั้นข้อมูล ArcView ให้เป็น ตาราง ใส่ ID และชื่อ ให้จุดที่เราใส่ไปแล้วคำนวณหาค่าพิกัด ขั้นตอน 1.พิมพ์ ID 2.Add Field โดยใช้คำสั่ง Edit/Add Field แล้วตั้งชื่อเช่น x พอ OK แล้วจะได้คอลัมน์เพิ่ม 3.คำนวณโดยใช้ปุ่ม Calculator พิมพ์คำสั่งว่า [Shape].getx หรือ [Shape].gety X pipat5678@hotmail.com

การ Generate ชั้นข้อมูล ArcView ให้เป็น ตาราง ใส่ ID และชื่อ ให้จุดที่เราใส่ไปแล้วคำนวณหาค่าพิกัด ขั้นตอน 1.พิมพ์ ID 2.Add Field โดยใช้คำสั่ง Edit/Add Field แล้วตั้งชื่อเช่น x พอ OK แล้วจะได้คอลัมน์เพิ่ม 3.คำนวณโดยใช้ปุ่ม Calculator พิมพ์คำสั่งว่า [Shape].getx หรือ [Shape].gety [Shape].getx pipat5678@hotmail.com

3.3.4 การวิเคราะห์ลุ่มน้ำ โดยใช้ฐานข้อมูลและ GIS

การวิเคราะห์ด้วยการซ้อนทับชั้นข้อมูลหลายๆด้าน ข้อมูลการใช้ที่ดิน ข้อมูลน้ำแล้ง ข้อมูลฝน ข้อมูลแหล่งน้ำ ข้อมูลน้ำท่วม ข้อมูลความต้องการน้ำ

การวิเคราะห์สมดุลน้ำทางอ้อม ข้อมูลปริมาณ น้ำฝน ข้อมูลจำนวน วันฝนทิ้งช่วง ข้อมูลแหล่งน้ำ Supply น้ำท่า (และน้ำใต้ดิน) Supply น้ำฝน ข้อมูลการใช้ที่ดิน (ความต้องการน้ำเกษตร) Water Supply ความต้องการน้ำ Water Demand สมดุลน้ำในลุ่มน้ำ น้ำขาด น้ำเกิน ข้อมูลประชากร (ความต้องการน้ำ อุปโภค-บริโภค)

การวิเคราะห์ด้านอุทกภัย ข้อมูลปริมาณ น้ำฝน และวันฝนตก ข้อมูลความชันของพื้นที่ ข้อมูลโครงสร้าง ดิน และหิน พื้นที่ที่ท่วมโดยธรรมชาติ ระดับ ความสูง ของพื้นที่ ระดับน้ำในล้ำน้ำ พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำหลาก-ดินถล่ม ข้อมูลแหล่งน้ำ และพื้นที่แก้มลิง (น้ำเต็ม/พร่อง) ข้อมูลด้านการคุกคามจากน้ำ ข้อมูลด้านความพร้อมและลำดับความสำคัญของพื้นที่ โครงสร้างการป้องกันอุทกภัย การเตรียมการ การจัดการ และการประเมินผลเสียหายอุทกภัย ข้อมูลประชากร และการใช้พื้นที่

ตัวอย่างการวิเคราะห์ สาธิต ตัวอย่างการวิเคราะห์