การสำรวจกันเขต เป็นการสำรวจเพื่อกำหนดตำแหน่งทางราบ เพื่อใช้กำหนดแนวเขตของรายละเอียดงานที่ใช้ประโยชน์ทางด้านการชลประทาน สำหรับใช้ประกอบการจัดซื้อที่ดินของโครงการชลประทาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
โปรแกรมเก็บสถิติทั่วไปด้านจัดสรรน้ำ ของโครงการชลประทาน (IRRIPROSTAT)
วัตถุประสงค์ของการปรับแก้เชิงเรขาคณิต
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
ระบบควบคุมวัตถุเสมือน Augmented Reality Object Manipulation System
ขั้นตอนการออกแบบทาง.
Google Maps.
ซอฟต์แวร์.
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
1. งานบริการเคเบิ้ลทีวี 2. งานบริการโทรทัศน์วงจรปิด
การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
ส่วนสำรวจกันเขตและประสานงานรังวัด
ผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น RID INNOVATION 2011
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
การควบคุมทางราบ การควบคุมทางราบ ถูกใช้ในงานการเก็บรายละเอียด และการวางผัง วงรอบเป็นรูปแบบที่ใช้หาค่าพิกัดสำหรับการหมุดควบคุม หรือหมุดวงรอบ.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)

การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
การสำรวจทำแผนที่กันเขตชลประทาน ระบบดิจิตอล โดยใช้กล้อง Total Station
โครงการ จัดทำระบบบริหารจัดการข้อมูลงานรังวัดเพื่อการชลประทานและแผนที่บัญชีรายชื่อเจ้าของที่ดิน (ร.ว. 43 ก.) เหตุผลความจำเป็น การก่อสร้างโครงการชลประทานมีการจ่ายเงินค่าชดเชย.
ระบบบริหารจัดการเอกสารและข้อมูลแผนที่ด้วยระบบสารสนเทศ
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
การวิเคราะห์ข้อมูล.
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
Computer Graphics เรขาคณิต 2 มิติ 1.
Geographic Information System
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในงานศูนย์สนเทศภาคเหนือ
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
การจัดการฐานข้อมูล.
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ระบบ RFID บนทางด่วน RFID systems on the highway
เครื่องมือและเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
นางสาวชุติมา อักขราภรณ์ ตอนB19
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
Map Types, Scales, Resolution Accuracy Projections
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล คำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการ ปัจจุบันเราถือว่าข้อมูล.
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสำรวจกันเขต เป็นการสำรวจเพื่อกำหนดตำแหน่งทางราบ เพื่อใช้กำหนดแนวเขตของรายละเอียดงานที่ใช้ประโยชน์ทางด้านการชลประทาน สำหรับใช้ประกอบการจัดซื้อที่ดินของโครงการชลประทาน สำหรับใช้ในการระวังแนวเขตกันการบุกรุก

การสำรวจทำแผนที่กันเขตชลประทาน แบ่งตามลักษณะงานดังนี้ 1.1 การสำรวจแผนที่บริเวณอ่างเก็บน้ำ มาตราส่วน 1: 4,000 ปักเขตทุก 100 เมตรและทุกมุมหัก 1.2 การสำรวจแผนที่หัวงานหรือผังบริเวณอาคารมาตราส่วน 1:1,000 หรือ 1:500 ปักเขตทุก 50 เมตร 1.3 การสำรวจแนวคลองส่งน้ำ คลองระบายน้ำ คันกั้นน้ำ และถนน มาตราส่วน 1:4,000 ปักเขตทุก 200 เมตร หรือ 50 เมตรในเขตชุมชน

การสำรวจกันเขตชลประทาน โดยใช้เครื่องมือสำรวจทั่วไป เช่น การสำรวจด้วยโซ่ (Chain Surveying) การสำรวจด้วยกล้อง Theodolite และเทปวัดระยะ การสำรวจด้วยกล้อง Total Station และวิธีการสำรวจแบบจลน์ในทันที (Real Time Kinematic, RTK)

วัตถุประสงค์ในการทำแผนที่กันเขตโดยใช้กล้อง Total Station เพื่อเป็นการสำรวจที่ทันสมัยโดยสัมพันธ์กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้มีการพัฒนามาสำหรับเก็บข้อมูลและประมวลผลข้อมูลจากกล้อง Total Station มาถ่ายทอดเป็นแผนที่ Digital File แล้วนำมาจัดเก็บแยกแฟ้มส์แต่ละภาคส่วน เพื่อสะดวกแก่การใช้งาน

การสำรวจทำแผนที่กันเขตโดยใช้กล้อง Total Station เครื่องวัดระยะ Electronic Distance Meter (EDM) และกล้องวัดมุม Theodolite โดยใช้แกนกล้องโทรทัศน์ (Telescope) ร่วมกัน

แผนที่ดิจิทัล (Digital Map) คือแผนที่ประเภทหนึ่งซึ่งมีรูปแบบข้อมูล แผนที่อยู่ในรูปรหัสตัวเลข (Digital Form) โดยสามารถ จัดเก็บ รวบรวม บันทึก เปลี่ยนแปลง ประมวลผล นำเสนอและวิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้ในลักษณะจุด (Point) เส้น (Line) รูปหลายเหลี่ยม (Polygon) และจุดภาพ (Pixel) แสดงผลบนจอภาพด้วยภาพสองมิติและโมเดลสามมิติ ย่อขยายได้ไม่จำกัดมาตราส่วน ความถูกต้องขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ทำการสำรวจ

การสำรวจทำแผนที่กันเขตโดยใช้กล้อง Total Station เพื่อทำแผนที่ดิจิทัล ประเภทงานและมาตราส่วนต่างๆ เพื่อให้สามารถใช้กล้อง Total Station ปฏิบัติงานสำรวจทดแทนอุปกรณ์ประกอบหรือเครื่องมือสำรวจอื่นๆ ซึ่งการเลือกใช้เครื่องมือกล้อง Total Station ต้องคำนึงถึง สภาพภูมิประเทศ ประเภทของงานสำรวจจะทำให้การปฏิบัติงานสำรวจและผลิตแผนที่ระบบดิจิตอลมีความความถูกต้อง รวดเร็วยิ่งขึ้น สำหรับรายละเอียดการปฏิบัติงานโดยการใช้กล้องTotal Station ขอให้ศึกษาถึงคุณลักษณะการใช้งานของกล้องในแต่ละยี่ห้อ หรือแต่ละรุ่นซี่งมีการใช้งานที่แตกต่างกัน

คุณลักษณะของกล้อง Total Station

ลักษณะการทำงานของกล้อง Total Station