สมดุลพลังงานไฟฟ้า: โอกาสและความเป็นไปได้ เดชรัต สุขกำเนิด คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
“สมดุล” พลังงาน เป็นเรื่องสำคัญมาก แต่ไม่ใช่เฉพาะเรื่อง การกระจายแหล่งผลิตไฟฟ้าเท่านั้น
“สมดุล” พลังงานยังหมายถึง สมดุลของการใช้ไฟฟ้าของผู้ใช้กลุ่มต่างๆ
5 จังหวัดแรก ที่มีการปล่อยปริมาณCO2 ต่อประชากร จากภาคพลังงานมากที่สุด (ไร่ต่อคน) ปริมาณ CO2 ที่ปล่อย (KgCO2 ต่อคน ) สมุทรสาคร 3.52 10,632.64 ระยอง 2.81 8,480.19 กรุงเทพฯ 2.41 7,274.23 สระบุรี 2.37 7,164.59 ชลบุรี 2.22 6,711.58
5 จังหวัดแรก ที่มีการปล่อยปริมาณCO2 ต่อประชากร จากภาคพลังงานน้อยที่สุด (ไร่ต่อคน) ปริมาณ CO2 ที่ปล่อย (KgCO2 ต่อคน ) หนองบัวลำภู 0.13 384.24 อำนาจเจริญ 0.15 439.02 นครพนม 443.18 นราธิวาส 444.96 แม่ฮ่องสอน 0.16 476.77
ใครเป็นผู้ใช้ไฟฟ้า ??
ความต้องการไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น แยกตามประเภทผู้ใช้ไฟ ภาระในการสร้างโรงไฟฟ้า ขยายระบบไฟฟ้า มาจาก... กลุ่มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ร้อยละ 74 ส่วนบ้านอยู่อาศัย ร้อยละ 20 ความต้องการไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น แยกตามประเภทผู้ใช้ไฟ ที่มา: แผน PDP 2004
สมดุลที่สำคัญที่สุดคือ “สมดุลของความรับผิดชอบ”
ทางเลือกสำคัญในการลดภาวะโลกร้อน ที่มา: World Bank, World Development Report 2010
ความสำคัญของการจัดการด้านการใช้พลังงาน ที่มา: World Bank, World Development Report 2010
ศักยภาพการประหยัดพลังงานไฟฟ้าของไทย ที่มา: Tira Foran และคณะ (2010)
เมืองซิดนีย์ในอนาคต www.cityofsydney.nsw.gov.au/2030/thedirection
การผลิตไฟฟ้า-พลังงานร่วม
การปฏิวัติแนวคิดในอาคารอนุรักษ์พลังงาน ยุคที่ 1 ยุคที่ 2 ยุคที่ 3 ยุคที่ 4
ความรับผิดชอบของภาคอุตสาหกรรม คือ หัวใจของความสมดุล
ความเข้มข้นในการใช้พลังงานของภาคอุตสาหกรรม
Energy-GDP elasticity ของอุตสาหกรรมไทย 2524-46 = 0.902 ประสิทธิภาพการใช้พลังงานของภาคอุตสาหกรรม ในระยะยาว (พ.ศ. 2524-2546) อุตสาหกรรมไทยมีประสิทธิภาพการใช้พลังงานสูงขึ้น โดยค่า energy -real GDP elasticity เฉลี่ยเพียง 0.9 Energy-GDP elasticity ของอุตสาหกรรมไทย 2524-46 = 0.902 ช่วงเศรษฐกิจดี 2530-39 = 1.071 2542-46 = 1.114
อุตสาหกรรมที่มีแนวโน้มการใช้พลังงานดีขึ้น สาเหตุ 1: หลายอุตสาหกรรมปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน อุตสาหกรรมที่มีแนวโน้มการใช้พลังงานดีขึ้น อุตสาหกรรมเกี่ยวกับสิ่งทอ อุตสาหกรรมโรงงานน้ำตาล อุตสาหกรรมการผลิตซีเมนต์ อุตสาหกรรมการผลิตกระดาษ ที่มา: ฐานข้อมูล บพร.1 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนฯ กระทรวงพลังงาน
อุตสาหกรรมที่มีประสิทธิภาพการใช้พลังงานแย่ลง
สมดุลพลังงานยังหมายถึง สมดุลของการพึ่งตนเองทางด้านพลังงาน
ภาพรวมอนาคตพลังงานหมุนเวียน กำลังการผลิตปัจจุบัน (MW) ศักยภาพที่เหลืออยู่ (MW) เป้าหมายที่เพิ่มขึ้นตามแผน 15 ปี (MW) กำลังการผลิตที่เสนอขายแต่ยังไม่เข้าระบบ (MW) แสงอาทิตย์ 37.6 >5,000 462.4 2,997.8 ก๊าซชีวภาพ 80.6 555 39.4 183.9 ชีวมวล 1,644 3,974 2,056.0 2,842.6 ขยะ 6.6 384 153.4 491.4 น้ำขนาดเล็ก 67 321 257.0 6.4 ลม 5.3 1,789 794.7 1,615.5 รวมทั้งหมด 1,841.1 12,023 3,762.9 8,137.6
How did we do it? Before After Boiler Steam Turbine Sale to Grid 6 MW T/G # 1,2,3,4 (3, 2.5, 2.5, 5 MW) # 4 # 5 # 6 ~ After Boiler Steam16 bar Mechanical force to shredder and milling #1 Steam Turbine # 2 Sale to Grid 6 MW # 3 22 kV 12 kWh/ton cane Steam 1 bar Sugar mill Steam 30 bar ~ # 1 New Boiler # 2 New T/G (41 MW) Sale to Grid 27 MW ~ # 7 T/G # 5 (12 MW) Steam 68 bar 55 kWh/ton cane 115 kV Dan Chang Bio-Energy Project 23
New Power Plant Existing Plant 2 Boilers 240 t/h ( 68 Bar , 510 C ) Turbine Generator 12 MW 3 Boilers 310 t/h ( 16 Bar , 370 C ) 1 Boiler 160 t/h ( 30 Bar , 370 C ) Existing Plant New Power Plant Turbine Generator 41 MW Substation 115 kV
การประเมินศักยภาพในการปรับปรุงประสิทธิภาพ โรงไฟฟ้าชีวมวล โดย JGSEE
กังหันลมแนวตั้ง ผลงานกังหันลมผลิตไฟฟ้าและสูบน้ำ จากเด็กๆที่ โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม เลขที่ 70 หมู่ 5 ถนนประสงค์ดี ต.ห้วยแถลง อ.ห้วยแถลง จ.นครราชสีมา 30240 ประกวดได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 ของประเทศ)
เป็นไปได้ว่า อีกไม่นาน เราจะมีภูมิภาคที่สมดุลด้วยการพึ่งตนเอง
การเติบโตของพลังงานหมุนเวียนในภาคอีสาน
อนาคตการขยายตัวพลังงานหมุนเวียนในภาคอีสาน
การกระจุกตัวในด้านการใช้พลังงาน
ภาคใต้กับการพึ่งตนเองทางด้านพลังงาน
“สมดุล” พลังงานที่กำลังเปลี่ยนไป คือ สำนึกรับผิดชอบของคนไทย
ปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการวางแผนผลิตไฟฟ้า
ผลสำรวจความคิดเห็นภาคครัวเรือน เรื่องความเหมาะสมของค่าไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นเพื่อสนับสนุนพลังงานหมุนเวียน แบบสอบถามจำนวน 1,900 ตัวอย่าง (Yamane) ในช่วงวันที่ 10 พฤษภาคม 2553 ถึง 5 มิถุนายน 2553 เพศชายร้อยละ 48.9 และเพศหญิง 51.1 อายุระหว่าง 18-69 ปี พื้นที่ในการสำรวจความคิดเห็น กรุงเทพและปริมณฑล ภาคตะวันออก(จังหวัดระยอง) ภาคเหนือ(จังหวัดเชียงใหม่) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(จังหวัดนครราชสีมา) ภาคใต้(จังหวัดนครศรีธรรมราช) หัวข้อในการสัมภาษณ์ในแบบสอบถาม Section A: ข้อมูลการใช้ไฟฟ้าของครัวเรือน Section B: ความคิดเห็นเรื่องพลังงานหมุนเวียนในระบบไฟฟ้าของประเทศไทย Section C: ความเหมาะสมของค่าไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นเพื่อสนับสนุนพลังงานหมุนเวียน Section D: ข้อมูลส่วนตัว
ภาระการสนับสนุนพลังงานหมุนเวียน
ภาระการสนับสนุนพลังงานหมุนเวียน (คิดเป็นสตางค์ต่อหน่วยไฟฟ้า)
การให้ความสนับสนุนพลังงานหมุนเวียนทั้ง 6 ประเภท ร้อยละ
ตามแผนพีดีพี มากกว่าแผนพีดีพี ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามต่อความเหมาะสมของค่าไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนทั้ง 6 ประเภท ตามแผนพีดีพี มากกว่าแผนพีดีพี ร้อยละ
ระดับรายได้ของครัวเรือน: รายได้ต่ำกว่า 6,000 บาท เห็นว่าค่าไฟฟ้าตามแผนพีดีพีเหมาะสมมากที่สุดร้อยละ 80 และมากกว่าแผนพีดีพีเห็นว่าค่าไฟฟ้าเหมาะสมมากที่สุดร้อยละ 66 รายได้ช่วง 6-8 หมื่นบาท เห็นว่าค่าไฟฟ้าตามแผนพีดีพีเหมาะสมน้อยที่สุดร้อยละ 53.8 และมากกว่าแผนพีดีพีเห็นว่าค่าไฟฟ้าเหมาะสมน้อยที่สุดร้อยละ 26.9 การใช้ไฟฟ้าฟรี: ผู้ที่เคยใช้ไฟฟ้าฟรีเห็นว่าค่าไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นทั้งสองแบบมีความเหมาะสมมากกว่ากลุ่มผู้ที่ไม่เคยใช้ไฟฟ้าฟรี ช่วงค่าไฟฟ้ารายเดือน: ค่าไฟฟ้ารายเดือน มีความผกผันต่อร้อยละของการแสดงความคิดเห็น คือ ผู้ที่มีค่าใช้จ่ายค่าไฟฟ้าน้อย เห็นว่าค่าไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นตามแผนทั้งสองแบบมีความเหมาะสมมากกว่า กลุ่มที่มีค่าใช้จ่ายค่าไฟฟ้าจำนวนมาก พื้นที่: นครศรีฯ เห็นว่าเหมาะสมมากที่สุด ตามแผนพีดีพีร้อยละ 92.6, มากกว่าแผนพีดีพีร้อยละ 86.8 กทม. เห็นว่าเหมาะสมน้อยที่สุด ตามแผนพีดีพีร้อยละ 52.2, มากกว่าแผนพีดีพีร้อยละ 30.1
แล้วสมดุลของความรับผิดชอบด้านพลังงาน จะเพียงพอให้เราอยู่รอดได้หรือไม่?
“...แต่ถ้าสามารถที่จะเปลี่ยนให้กลับเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ต้องทั้งหมด แม้จะไม่ถึงครึ่ง อาจจะเศษหนึ่งส่วนสี่ ก็จะสามารถที่จะอยู่ได้...” พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540