โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
Advertisements

สมดุลเคมี.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
Laboratory in Physical Chemistry II
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การทดลองหาแป้งในยาสีฟัน ( วิทยาศาสตร์ )
ผักกาดดองจ๊า.
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
เด็กหญิงณัฐณิชา ด้วงคำวิชัย เลขที่ 24 โรงเรียนอนุบาลเมืองลำพูน
โดย: ด.ช.นพวิทย์ วงษ์เจริญ ด.ญ.ลักษิกา บูรณศักดิ์ศรี
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
ขนมไทย จัดทำโดย ด. ช. กลวํชร เชื้อเกตุ ด. ช. ณัฐชนน กำจาย เสนอ อ
บทนิยาม อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ อาคารสิ่งปลูกสร้าง
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4209 (พ. ศ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
เทคโนโลยีการแปรรูปขั้นต้นของผักและผลไม้ โดย ผศ
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
ปุ๋ยชีวภาพ Organicfertilizer
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
1.ด.ญ.ธนากร อยู่คง 3.ด.ช.วธัญญู อู่นาท 4.ด.ญ.วราภรณ์ เมืองแก้ว
(B2E Rice Bran Oil and Germ)
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
บทที่ 6 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับอาหาร และเครื่องดื่ม
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4210 (พ. ศ
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ อ. สุภเวท มานิยม.
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

น้ำส้มสายชูหมัก น้ำส้มสายชู (Vinegar) คือ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการทำให้เกิดกรดน้ำส้ม (Acetification) จากวัตถุดิบพวกน้ำตาลหรือแป้งที่ผ่านกระบวนการหมักแอลกอฮอล์มาแล้ว น้ำส้มสายชูหมัก คือ การนำธัญพืช ผลไม้ หรือน้ำตาล มาหมักกับเชื้อน้ำส้ม น้ำส้มสายชูกลั่น คือ การนำแอลกอฮอล์หรือสุราขาวมาเจือจางและหมักกับเชื้อน้ำส้ม หรือได้จากการนำน้ำส้มสายชูหมักมากลั่น

วัตถุดิบสำหรับการหมัก ข้าวมอลต์ Malt vinegar

แอปเปิ้ล Apple vinegar

ไวน์ wine vinegar

ข้าวโพด

กล้วย

ข้าว ข้าวหอมมะลิ ข้าวอินทรีย์ ข้าวพื้นบ้าน

ข้าวจ้าว ข้าวเหนียว ข้าวกล้อง

ข้าวพื้นบ้าน เช่น ข้าวหน่วยเขือ ข้าวหอมมะลิแดง

ขั้นตอนการหมัก ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน 1. การหมักเพื่อให้ได้แอลกอฮอล์ ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน 1. การหมักเพื่อให้ได้แอลกอฮอล์ (Alcohol fermentation) การหมักเพื่อให้ได้กรดอะซิติก (Acetification)

1. การหมักเพื่อให้ได้แอลกอฮอล์ (Alcohol fermentation) วัตถุดิบ คือ ข้าวหุงสุก นำไปล้างน้ำเพื่อกำจัดยางออกให้หมด และผึ่งให้สะเด็ดน้ำ หัวเชื้อ คือ ลูกแป้งข้าวหมาก หรือ ลูกแป้งเหล้า หรือ ลูกแป้งสาโท

เชื้อจุลินทรีย์ในลูกแป้ง เป็นเชื้อผสม ประกอบด้วย ยีสต์ Candida Saccharomyces

รา Amylomyces Aspergillus

ราย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาล แป้ง  น้ำตาล ยีสต์หมักน้ำตาลให้เป็นเอทานอลได้เป็นสาโทหรือน้ำขาว น้ำตาล  เอทานอล + ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

ขั้นตอนการทำ 1. หุงหรือนึ่งข้าว ให้ได้ข้าวเม็ดแตกแต่ไม่เละ

นำข้าวมาล้างน้ำเพื่อกำจัดยางให้หมด สังเกตว่าร่วนแล้ว ผึ่งให้เย็นและสะเด็ดน้ำ

คลุกข้าวกับลูกแป้งที่บดแล้ว ในอัตราส่วนลูกแป้ง 1 ลูกต่อข้าว 1 กิโลกรัม บรรจุใส่ภาชนะและปิดด้วยผ้าขาวบาง ใช้เวลาหมัก 3-5 วัน จะได้เป็นข้าวหมาก

6. เตรียมเชื้อยีสต์ผงประมาณ 0 6. เตรียมเชื้อยีสต์ผงประมาณ 0.5 กรัม โดยละลายยีสต์ผงในน้ำอุ่นและทิ้งไว้สักครู่ก่อนเติมลงผสมในน้ำที่เติมน้ำตาลให้ได้ประมาณ 20 - 25 บริกซ์ ( ปริมาตรทั้งหมดประมาณ 4 ลิตร) และนำไปเทลงในข้าว 7. หมักต่อ ใช้เวลาประมาณ 7 วัน จนได้แอลกอฮอล์ประมาณ 12% และน้ำตาลเหลือประมาณ 6 บริกซ์ 8. นำมาแยกกากข้าวออกจะได้เป็นสาโท

2. การหมักเพื่อให้ได้กรดอะซิติก (Acetification) การหมักเอทานอลให้เป็นกรดน้ำส้ม (กรดอะซิติก) การหมักทำในสภาวะที่มีอากาศ ห้ามปิดฝาภาชนะหมักจนสนิท หัวเชื้อน้ำส้ม คือ แบคทีเรีย Acetobacter aceti

การใช้เชื้อบริสุทธิ์ การต่อเชื้อจากน้ำส้มสายชูหมัก ลูกแป้งน้ำส้ม มีขนาดใหญ่กว่าลูกแป้งข้าวหมาก ขนาดประมาณ 5-6 เซนติเมตร และมีกลิ่นเครื่องเทศที่แรง

3. ตรวจวัดปริมาณกรดอะซิติก ให้ได้กรดประมาณ 5% ขั้นตอนการหมัก 1 . สาโท ประมาณ 2 ลิตร ผสมกับหัวเชื้อน้ำส้ม 1 หลอด 2. บรรจุใส่ภาชนะ ปิดด้วยผ้าขาวบาง ใช้เวลาประมาณ 7 วัน เริ่มได้กลิ่นน้ำส้ม 3. ตรวจวัดปริมาณกรดอะซิติก ให้ได้กรดประมาณ 5%

การทำให้น้ำส้มสายชูหมักใส น้ำส้มหมักจากข้าว จะมีตะกอนของโปรตีนที่เป็นสาเหตุทำให้น้ำส้มขุ่น การทำให้ใส โดยการนำไปแช่เย็นให้ตกตะกอน แล้วเทแยกส่วนใสออกมา แต่แยกออกไม่ได้ 100 %

การทำให้ใส โดยการกรอง

*** ในการหมักถ้ามีการเติมอากาศจะช่วยให้มีการผลิตกรดได้เร็วขึ้น

คุณภาพของน้ำส้มสายชูหมัก มีกรดอะซิติกไม่น้อยกว่า 4% การวิเคราะห์ปริมาณกรดโดยวิธีการไทเทรตด้วย โซเดียมไฮดรอกไซด์ สารเคมี 1. สารละลาย Phenolphthalein 1% 2. สารละลายมาตรฐาน 0.1 N NaOH

2. เติมสารละลายฟีนอลฟทาลีน 1% 3 หยด 1 . ใส่น้ำกลั่น 25 มิลลิลิตรในขวดวิเคราะห์ เติมตัวอย่างน้ำส้ม 2 มิลลิลิตร 2. เติมสารละลายฟีนอลฟทาลีน 1% 3 หยด 3. เติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.1 N จนสารในขวดเปลี่ยนเป็นสีชมพู

คำนวณปริมาณกรด % กรดอะซิติก = ปริมาตรโซเดียมไฮดรอกไซด์ x 0.1 x 6,000 2,000

การวัด % แอลกอฮอล์

วัดน้ำตาลด้วย Refractometer Brix