Blueprint for Change
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 1.คุณจิตรา เฉลิมทิพย์ ประธาน 1.คุณจิตรา เฉลิมทิพย์ ประธาน 2.คุณอนงค์ สุขยิ่ง เลขานุการและผู้นำเสนอ 3.คุณพรพรรณ ศุภนคร สมาชิก 4.คุณสุรชัย ครอบบัวบาน สมาชิก 5.คุณเขมาวดี โอสถาพันธุ์ สมาชิก 6.คุณวไลกร ศิวรักษ์ สมาชิก 7.คุณนราวุฒิ จันทร์ทอง สมาชิก 8.คุณเชาวลิต อัศวะมหาศักดา สมาชิก 9.คุณประวัติ มงคลเนาวรัตน์ สมาชิก 10.คุณปรีชา เดชพันธุ์ สมาชิก 11.คุณไชยพศ พัชรพล สมาชิก 12.คุณวิศาล อู่เจริญ สมาชิก 13.คุณศิวาพร นวลตา สมาชิก 14.คุณอรพิน ทรงประสิทธิ์ สมาชิก 15.คุณสุกัญญา องค์วิเศษไพบูลย์ สมาชิก
1. สรุปประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้จากกลุ่ม รูปแบบ ขั้นตอนการจัดทำ BFC ของหน่วยงานต่าง ๆ มีทั้งส่วนที่คล้ายคลึงและแตกต่างตามลักษณะงาน ขั้นตอนที่ 1 เลือกประเด็นยุทธศาสตร์และกระบวนงาน หลักการ - เลือกประเด็นยุทธศาสตร์ที่มีความสำคัญ - เลือกประเด็นยุทธศาสตร์ที่สามารถทำได้ - เลือกระบวนงานที่สามารถควบคุมได้ ไม่มีความเสี่ยง - มีผลที่เป็นรูปธรรม ชัดเจน มีความคืบหน้า
1.สรุปประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้จากกลุ่ม (ต่อ) ขั้นตอนที่ 2 มีการตั้งคณะทำงาน ขั้นตอนที่ 3 ประชุมชี้แจง และระดมความคิดเห็น ขั้นตอนที่ 4 รวบรวมข้อมูล จัดทำแผน ขั้นตอนที่ 5 นำเสนอผู้บริหารพิจารณา
ปัจจัยความสำเร็จของการจัดทำ BFC CCO ให้ความสำคัญ เข้าใจ สนับสนุน ผลักดันให้ เกิดให้ความสำเร็จ ความร่วมมือและความตั้งใจในการทำงานของ คณะทำงาน มีที่ปรึกษาที่มีคุณภาพ มีผู้รับผิดชอบชัดเจน
ปัญหา อุปสรรคในการทำงาน ผู้รับผิดชอบ BFC ไม่ชัดเจนและต่อเนื่อง มีการเปลี่ยนแปลง CCO เจ้าหน้าที่ไม่มีความเข้าใจในการจัดทำ BFC ทำให้ เกิดความผิดพลาดในการจัดทำต้องเสียเวลาแก้ไข ไม่ได้รับงบประมาณสนับสนุนในการ implement แผน
กรณีตัวอย่างการดำเนินงานของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 1. เลือกประเด็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญ 2. พิจารณาแต่งตั้งคณะทำงาน BFC โดยมี CCO เป็นประธานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกกองเป็นคณะทำงาน มีกลุ่ม กพร. และกองแผนงานวิชาการเป็นเลขานุการ 3. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงรายละเอียด ความเป็นมาและแนวทางการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง 4. ทำแผนการจัดทำ BFC และดำเนินการตามแผน - วิเคราะห์ข้อมูลของกระบวนงานปัจจุบัน - เลือกกระบวนงานครอบคลุมในทุกกลยุทธ์ของประเด็นยุทธศาสตร์ที่เลือก -จัดทำรายละเอียดตามแบบฟอร์มที่กำหนด
กรณีตัวอย่างการดำเนินงานของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์(ต่อ) 5. นำเสนอคณะกรรมการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีของกรม( CCO ประธาน ผอ.กองทุกกองเป็นคณะทำงาน) เพื่อพิจารณากลั่นกรอง 6. จัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง 7. นำเสนอหัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบ 8. จัดทำแผนการนำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงสู่การปฏิบัติ 9. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการนำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงสู่การปฏิบัติ
กรณีตัวอย่างการดำเนินงานของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์(ต่อ) ปัญหาการจัดทำ - เจ้าหน้าที่ขาดความชำนาญ มีความเข้าใจไม่ชัดเจนในการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง - แผนยุทธศาสตร์ของกรมไม่นิ่ง ปัญหาการนำแผนสู่การปฏิบัติ - ขาดการสนับสนุนงบประมาณ - โครงการบางอย่างไม่สามารถดำเนินการตาม แผนได้เนื่องจากปัจจัยภายนอก
แนวทางการพัฒนาเครือข่าย จัดทำทำเนียบ จัดทำ website จัดอบรมสัมมนาเป็นระยะ Informal Meeting ดูงานเครือข่าย