การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
พยากรณ์การเกิดโรคมาลาเรีย ปี 2555 โดยการวิเคราะห์อนุกรมเวลา ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 15 และ 16.
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
ไข้เลือดออก.
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ข้อมูล ณ 20 มิถุนายน 2550 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน ตุลาคม 2556 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
จุฑาทิพย์ ชมภูนุช สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์รายงานสถานการณ์
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 โดย คณะทำงานข่าวกรอง พยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี ชลิต เข็มมาลัย กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี

บทนำ ประเทศไทยเริ่มพบโรคไข้เลือดออกประปราย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2492 พบการระบาดใหญ่ครั้งแรกในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2501 ในช่วง 50 ปีที่ผ่านมามีการระบาดเพิ่มมากขึ้น สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย นับตั้งแต่ ปี 2501-2545 มีแนวโน้มที่สูงขึ้นมาโดยตลอด พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_1

สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 2 เขตสาธารณสุข เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4 ประกอบด้วย จังหวัดราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 5 ประกอบด้วย จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ทั้งสองเขตเป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก อย่างต่อเนื่อง และติดอยู่ใน 10 อันดับแรกของโรคที่ต้องเฝ้าระวัง พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_2

เพื่ออธิบายลักษณะทางระบาดวิทยา ของโรคไข้เลือดออก วัตถุประสงค์ เพื่ออธิบายลักษณะทางระบาดวิทยา ของโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 4 และ 5 เพื่อคาดการณ์แนวโน้มของโรคไข้เลือดออก ในปี พ.ศ. 2555 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_3

วิธีการศึกษา ศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา โดยวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะการเกิดโรค ในลักษณะของบุคคล เวลา สถานที่ และปัจจัยด้านเชื้อไวรัส พยากรณ์แนวโน้มของการเกิดโรค สถิติชั้นสูงแบบอนุกรมเวลา (Time Series Analysis) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_4

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ข้อมูลผู้ป่วยไข้เลือดออกในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 จากรายงาน506 ย้อนหลัง 10 ปี โปรแกรมที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลใช้ข้อมูล สำเร็จรูปคอมพิวเตอร์ พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_5

ผลการศึกษา พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_6

ลักษณะการเกิดโรคไข้เลือดออก รูปที่ 1 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนโรคไข้เลือดออกรายจังหวัด เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ปี พ.ศ. 2545 – 2554 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_7

ตารางที่ 1 10 อันดับอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน จำแนกตามเขตตรวจราชการ ของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2550-2554 ลำดับ 2550 2551 2552 2553 2554 เขต อัตรา/แสน 1 18 190.41 9 240.48 7 135.65 8 431.27 5 252.06 2 168.25 4 238.29 133.44 6 311.89 225.18 3 168.08 218.22 123.43 15 303.68 183.1 19 160.51 206.36 122.24 274.97 171.28 17 155.32 199.36 111.69 14 227.65 157.34 148.15 195.9 109.68 222.01 137.66 137.97 187.1 98.54 173.68 126.11 127.44 185.57 97.39 171.41 108.2 124.18 155.28 16 92.3 164.8 13 86.4 10 106.6 144.53 82.24 11 134.35 86.36 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_8

รูปที่ 2 ร้อยละผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกแยกกลุ่มอายุ เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ปี พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2554 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_9

รูปที่ 3 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกแยกอาชีพ พื้นที่สาธารณสุขเขต 4,5 พ. ศ รูปที่ 3 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกแยกอาชีพ พื้นที่สาธารณสุขเขต 4,5 พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2554 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_10

รูปที่ 4 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปีพื้นที่สาธารณสุขเขต 4,5 (ม.ค.2550 – ก.ค. 2555) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_11

พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_12

พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_13

การพยากรณ์แนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออก ปี 2555 ( Time Series analysis ) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_14

พื้นที่สาธารณสุขเขต 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) รูปที่ 7 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี พื้นที่สาธารณสุขเขต 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) เดือน ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค จำนวน พยากรณ์ 41 3 42 3 466 573 870 1208 1248 จำนวนผู้ป่วย จริง 43 6 37 5 386 404 630 740 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_15

จังหวัดเพชรบุรี 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) รูปที่ 8 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดเพชรบุรี 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) เดือน ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค จำนวนพยากรณ์ 17 20 27 37 63 76 82 จำนวนผู้ป่วยจริง 24 13 26 46 114 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_16

จังหวัดสมุทรสาคร 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) รูปที่ 9 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดสมุทรสาคร 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) เดือน ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค จำนวนพยากรณ์ 17 20 27 37 63 76 81 จำนวนผู้ป่วยจริง 97 61 62 78 29 106 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_17

จังหวัดสมุทรสงคราม 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) รูปที่ 10 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดสมุทรสงคราม 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) เดือน ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค จำนวนพยากรณ์ 8 9 13 16 24 27 จำนวนผู้ป่วยจริง 15 18 20 25 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_18

จังหวัดราชบุรี 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) รูปที่ 11 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดราชบุรี 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) เดือน ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค จำนวนพยากรณ์ 82 87 78 100 204 225 จำนวนผู้ป่วยจริง 104 95 94 119 167 207 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_19

อภิปรายผล รูปแบบ (Pattern) ของการเกิดโรคในรอบ 10 ปี ตั้งแต่ปี 2545 – 2554 รูปแบบการระบาด 2 ปีเว้น 1 ปี ในช่วงปี พ.ศ.2550-2554 พบว่ารูปแบบเป็นแบบ 2 ปีเว้น 2 ปี ปัจจัยอื่น ๆ มาเกี่ยวข้อง เช่น สภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ที่เปลี่ยนแปลงไป หรือนโยบายที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ ธรรมชาติของเชื้อโรค พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_20

อภิปรายผล(ต่อ) รูปแบบการเกิดโรคในปี 2555 – 2556 อาจมีความแตกต่าง ไปจากเดิม ดังนั้นการพยากรณ์โรคไข้เลือดออกโดยวิธี การวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้อนุกรมเวลา ( Time Series ) อาจมีความคลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริงได้ เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4 และ 5 มีอัตราป่วยต่อ ประชากรแสนคนอยู่ใน 10 อันดับของประเทศเกือบทุกปี และในปี 2554 และ 2555 ส่วนใหญ่จะพบการระบาดของเชื้อ ไวรัสทั้งซีโรไทป์ 1, 2 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_21

อภิปรายผล(ต่อ) ผลจากการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าจำนวนผู้ป่วยจากการ พยากรณ์กับผู้ป่วยจริงจะแตกต่างกันมากหรือน้อยผิดปกติ จะทำให้การพยากรณ์โรคไม่ได้ผลเนื่องจาก ขาดความครบถ้วนของการรายงานผู้ป่วย รายงานไม่ทันเวลา เมื่อพ้นระยะการเฝ้าระวังโรคแล้วการระบาดยังคงมีอย่างต่อเนื่อง การพยากรณ์โรคเป็นรายเดือนจำนวนพยากรณ์จะใกล้เคียง กับผู้ป่วยจริง พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_22

ข้อจำกัด เรื่องการพยากรณ์โรคเป็นเรื่องใหม่สำหรับเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยา และเป็นเรื่องที่เข้าใจได้ยาก เจ้าหน้าที่มีพื้นฐานความรู้ด้านสถิติ อาจยังไม่เพียงพอ ขาดการนำข้อมูลผู้ป่วยทางด้านอายุ เพศ อาชีพ มาทำการพยากรณ์โรค ขาดการนำข้อมูลจากรายงานการสอบสวนโรคในบางประเด็น เช่น ประวัติการเดินทาง กิจกรรมการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลาย เป็นต้น จังหวัดไม่มีส่วนร่วมในการทำพยากรณ์โรค พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_23

ข้อเสนอแนะ ควรมีการติดตามประเมินผลการพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ว่ามีความแม่นยำถูกต้องหรือไม่ และควรหาวิธีการพยากรณ์โรค มาใช้ให้มากขึ้น ควรมีการจัดอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานอย่างต่อเนื่อง ควรมีการนำข้อมูลด้าน อายุ เพศ อาชีพ ประวัติการเดินทาง กิจกรรมการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลาย จะทำการพยากรณ์โรค มีประสิทธิภาพมากขึ้น ควรให้จังหวัดมีส่วนร่วมในการทำพยากรณ์โรคอาจจะทำให้ได้ ข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา มากขึ้น พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_24

มาตรการการป้องกันการระบาดของโรค เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ควรมีการวิเคราะห์ความเสี่ยง การเกิดโรคของพื้นที่ โดยใช้ข้อมูลโรค และปัจจัยเสี่ยงของ การเกิดโรคไข้เลือดออก เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนป้องกันโรค ก่อนถึงฤดูกาลระบาด ผู้บริหารหน่วยงานสาธารณสุขติดตามระบบเฝ้าระวังและเร่งรัด ให้มีการขยายเครือข่ายการเฝ้าระวังโดยชุมชนเพื่อให้มีการแจ้งข่าว และรับทราบข่าวได้รวดเร็วเพื่อนำไปสู่การควบคุมโรค เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีบทบาทหน้าที่ในด้านการป้องกันควบคุมโรค พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_25

มาตรการการป้องกันการระบาดของโรค(ต่อ) ให้ความรู้และสื่อสารความเสี่ยง เช่น อาการไข้สูงควรรีบมารับ การรักษาสถานบริการของรัฐ เป็นต้นให้ประชาชนได้รับทราบ อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนัก และให้ความร่วมมือ ในการป้องกันโรค เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาควรนำรายงานการสอบสวนโรคมาวิเคราะห์ จะทำให้ทราบถึงลักษณะการระบาดของโรคเป็นอย่างไร กลุ่มเสี่ยง ความครอบคลุมของกิจกรรมการควบคุมป้องกันโรค เป็นต้น พื้นที่ควรนำรายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกนำเสนอในที่ ประชุมระดับจังหวัด อำเภอ อปท. พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_26

สวัสดี