ข้อพิจารณาว่าน่าจะทำเป็น ข้อเสนองานเอดส์ 1) ข้อมูลสามารถแปลงเป็นประเด็นเชิงกลยุทธ (Strategic Information) ความสำคัญของปัญหา และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่เกี่ยวกับเอดส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จังหวัดตราด ผลการเฝ้าระวังปี 2555.
Advertisements

โครงการการป้องกันเอชไอวีในกลุ่มประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
กลุ่มวิชาชีพ/ วิชาการ/ กฎหมาย/ระเบียบ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
ประชุมคณะทำงานและคณะ เลขาฯ การจัดทำรายงาน UNGASS ธันวาคม 2550.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
การค้ามนุษย์.
ผลกระทบการเปิดประตูสู่อาเซียน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แรงงานนอกระบบคือใคร ใครคือแรงงานอกระบบ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” (พ.ศ )
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มที่ 3 เรื่องงานด้านการดูแล รักษาผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วย.
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ข้อกำหนดคณะกรรมการส่งเสริม การจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติว่า ด้วยการกำหนดบุคคลหรือกลุ่ม บุคคลเป้าหมายเป็นผู้รับบริการ.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
แผนความร่วมมือระหว่างประเทศ
นโยบายด้านบริหาร.
ประสบการณ์และข้อเสนอแนะ แนวทางการเฝ้าระวังโรคและภัย สุขภาพด้านต่างๆ ของแรงงานข้ามชาติ วันที่ 13 มีนาคม 2557 การประชุมวิชาการป้องกันควบคุมโรค แห่งชาติประจำปี
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปการประชุมระดมความคิด
“เยาวชนมีความมั่นคง แข็งแรง ดี มีสุข และสร้างสรรค์”
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ร่าง แผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขของประเทศไทย เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน วันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๔ 1.
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ตัวชี้วัดที่กรมควบคุมโรครับผิดชอบ ในการตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข ปี กุมภาพันธ์ 2556.
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
บทเรียนที่งอกงามในการทำงาน ด้านเอชไอวี / เอดส์ ของพี่น้อง ภาคีกพอ. ภาคเหนือ 25 ปี เบญจเพศ มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ พันธกิจเอดส์แห่งประเทศ ไทย มูลนิธิเอดส์เน็ท.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อพิจารณาว่าน่าจะทำเป็น ข้อเสนองานเอดส์ 1) ข้อมูลสามารถแปลงเป็นประเด็นเชิงกลยุทธ (Strategic Information) ความสำคัญของปัญหา และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่เกี่ยวกับเอดส์ กับข้อมูลประชากรเพื่อกำหนดแนวทาง แก้ปัญหาได้ชัดเจนโดยเฉพาะเป้าหมาย (targets) มากน้อยเพียงใด ( ข้อมูลระบาด และ ข้อมูลสถิติอื่น ) 2) ขนาดปัญหาและมีขบวนการหรือกลไกปรากฎ เพื่อตอบสนองกี่ระดับ ( เป็นปัญหาระดับชาติ ระดับภูมิภาค มีนโยบายระดับชาติ มีการหารือ หรือข้อตกลงระดับต่างๆ ) 3) การประเมินถึงผลที่คุ้มค่าในการลงทุนและ ความเสี่ยงด้านต่างๆตลอดจนการติดตาม ประเมินผลในระหว่างและหลังดำเนินการ

ข้อสังเกตเกี่ยวกับข้อมูล ตัวข้อมูลเท่าที่มีน่าเชื่อถือและมีนัยสำคัญมากน้อย เพียงใด จำนวนประชากรเป้าหมายมากน้อย เพียงใด แล้วจะใช้ข้อมูลไหนถึงจะแปลงเป็นข้อมูล เชิงกลยุทธ์ได้ เช่น ข้อมูลจากหนังสือสุขภาพคนไทย 2556 โดย IPSR-Mahidol Uni หน้า จะน่าสนใจกว่าข้อมูล พื้นที่ที่มีนัยสำคัญน้อยกว่าหรือเปล่า * แรงงานข้ามชาติเป็นหนึ่งในประชากรชายขอบ และประชากรชายขอบเป็นหนึ่งในสิบตัวชี้วัดควา มั่นคงของมนุษย์ * แรงงานข้ามชาติเป็นประชากรที่มีจำนวนมาก เป็นอันดับสอง (2.5 ล้าน ) รองจากคนจน ( 5 ล้าน ) ที่มีอยู่ ในประเทศไทย * ความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มแรงงานข้าม ชาติ จากการเฝ้าระวังปี 2554 พบว่ามีร้อยละ 1.7

ในประเทศไทย * แรงงานต่างชาติที่ทำประมงมีพฤติกรรมเสี่ยงสูง กว่า ( แรงงานประเภทอื่น ) และอัตราการติดเชื้อเอช ไอวีสูงเท่าถึง 9%. * อัตตราการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มพนักงาน บริการตในพื้นที่และเมืองตามชายแดนจะสูงกว่า พื้นที่ทั่วไป * อัตตราการติดเชื้อในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่รับการ ตรวจเลือดที่คลีนิคเอเอนซีในประเทศไทยแสดง ถึงอัตตราการติดเชื้อในกลุ่มแรงงานหญิงตั้งครรภ์ สูงกว่าอย่างมีนัยยะสำคัญ JUNIMA มีข้อมูลสรุปว่า

ขนาดปัญหาและขบวนการ / กลไก เป็นปัญหาทุกระดับ ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระหว่าง ประเทศ ระดับอาเซียน และระดับภูมิภาคเอเชีย มีนโยบาย ขบวนการและกลไกทุกระดับ เช่น * นโยบายระดับไหน มติครม. นโยบายกระทรวง แผน ยุทธศาสตร์ระบุมุ่งเน้นแค่ไหน * ระดับชาติและระหว่างเมืองชายแดนติดกัน มี คณะกรรมการต่างๆและคณะกรรมการด้านสุขภาพชายแดน เช่น คณะกรรมการระหว่างเมืองเชียงรายของไทยกับเมือง บ่อแก้วของลาว คณะกรรมการระหว่างไทยกับกัมพูชา และระหว่างไทยกับพม่า * ระดับภูมิภาคได้แก่ ASEAN Taskforce on AIDS และ โดยเฉพาะ JUNIMA (The Joint United Nations Initiative on Mobility and HIV/AIDS in South East Asia)

The Joint United Nations Initiative on Mobility and HIV/AIDS in South East Asia (JUNIMA) เดิมรู้จักกันในนาม the United Nations Regional Task Force on Mobility and HIV Vulnerability Reduction (UNRTF) JUNIMA ประกอบด้วย ตัวแทนรัฐบาลประเทศ ต่างๆรวมทั้งสำนักเลขาธิการอาเซียน เครือข่าย องค์กรพัฒนา และ หน่วยงานองค์การ สหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงการป้องกัน การ ดูแลรักษาและหนุนเสริมของกลุ่มประชากร เคลื่อนย้ายและแรงงานข้ามชาติในเอเยาคเนย์ และภาคใต้ของจีน

จุดแข็งของ JUNIMA คือมาจากการรวมตัวที่ หลากหลาย มีความรู้ และเป็นองค์กรสมาชิกที่ มีเจตนารมณ์มุ่งมั่นได้แก่ หน่วยงานรัฐบาล หลายประเทศ องค์กรรัฐระหว่างประเทศ หน่วยงานสหประชาชาติหลายหน่วยงาน องค์กรพัฒนาเอกชนนานาชาติ องค์ภาคประชา สังคม กลุ่มผู้ติดเชื้อ และองค์ที่ทำงานด้าน แรงงานข้ามชาติ มีเวทีที่สมาชิกได้เข้าร่วมหารือกันเรื่องต่างๆ รวมทั้งรายงานความก้าวหน้าด้านต่างๆเช่น 1) การใช้ข้อมูลเชิงกลยุทธ์ 2) นโยบายและการ รณรงค์ส่งเสริม 3) กลไกที่มีผู้เข้าร่วมหรือภาคีที่ หลากหลาย

การประเมินถึงผลที่คุ้มค่า & ความ เสี่ยง ดำเนินไปพร้อมๆกับการพัฒนาข้อเสนอ หรือทำ ก่อนและหลังการเขียนข้อเสนอ วิธีการและเครื่องมือ ( วิธีการประเมินโครงการ ปกติ /project appraisal กลไก CCM-TC Feasibility study ฯลฯ ) ใช้กลไกที่มีอยู่แล้วเช่นกรรมการชายแดน JUNIMA การติดตามและประเมินผลก่อน ระหว่างและ หลังการดำเนินงานโครงการ