ทิศทางการประเมินในอนาคต วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

ผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติงานของ
การประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2011
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
ชื่อตัวบ่งชี้ : 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด 1. จุดอ่อน 1. ยังมีเนื้อหาของบางรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เกิดความซ้ำซ้อน 2. การจัดลำดับความสำคัญของรายวิชาในแต่ละ.
Learning Organization PSU.
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE)
เรื่อง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
เตรียมความพร้อมการรายงานผลการปฏิบัติการประจำปี 2552 รอบ 12 เดือน.
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
รายงานผลทางวาจา การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน มหาวิทยาลัยพายัพ วันที่ 5-7 กันยายน 2551.
การบริหารคุณภาพองค์กร
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบที่3
LEARNING ORGANIZATION
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การตรวจประเมิน ตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2552
หมวด2 9 คำถาม.
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
Benchmarking.
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
แนวทางการดำเนินการลดขั้นตอน
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
การวัดผล (Measurement)
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
Good Practice (for Quality Improvement)
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคนิค (Competency Development for Best Practices) กรมควบคุมโรค ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค บริษัท โกลบัล.
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
CMU: UNIVERSITY OF EXCELLENCE
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักงานอัยการสูงสุด
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ
รายงานการวิจัย การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจที่พัก
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการประเมินในอนาคต วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 และเทคนิควิธีการประเมินคุณภาพ วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 นาวาตรีหญิง ดร. กิตติยา เอ็ฟฟานส รองผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

QA & การเปลี่ยนแปลงของมทร. พระนคร

“Change Theory” “Outside In” “Inside Out”

“IT IS NOT THE STRONGEST SPECIES THAT SURVIVE, OR THE MOST INTELLIGENT, BUT THE MOST RESPONSIVE TO CHANGE.” Charls Davin (อ้างถึงใน บดินทร์ วิจารณ์, 2547)

“CHANGE OR DIE.” John Naisbett (อ้างถึงใน Wysocki R., K et al., 2000)

……If American can, why can’t we? If Japan can, why can’t we? ……If American can, why can’t we?

Learning Organization Senge (1990) = Mr. LO “สถานที่ซึ่งทุกคนสามารถขยายศักยภาพของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถสร้างผลงานตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ เป็นที่ซึ่งเกิดรูปแบบการคิดใหม่ๆ หลากหลายมากมาย ที่ซึ่งแต่ละคนมีอิสระที่จะสร้างแรงบันดาลใจ และเป็นที่ซึ่งทุกคนต่างก็เรียนรู้วิธีการเรียนรู้ร่วมกัน”

ลักษณะขององค์กรการเรียนรู้ 5 ประการ ลักษณะขององค์กรการเรียนรู้ 5 ประการ บุคคลเรียนรู้เป้าหมายขององค์กร ไม่นิ่งนอนที่จะวัดระยะห่างจากเป้าหมาย กลยุทธ์แบบ “win-win”ไม่ห่างกาย วิสัยทัศน์ที่ใช้ต้องร่วมมอง การทำงานประสานกันทั่วทุกฝ่าย ความรู้ได้ถ่ายทอดถ้วนทั้งผอง วิธีคิดนั้นไซร้ให้จับจอง มองเป็นระบบครบวงจร กิตติยา เอ็ฟฟานส (2548)

ผลการวิเคราะห์ยืนยันโมเดลการวัดวัฒนธรรมคุณภาพ VISION ผลการวิเคราะห์ยืนยันโมเดลการวัดวัฒนธรรมคุณภาพ EX_INFO LONGTERM REFLECT ] QUALITY CULTURE CONTINUE COLLAB IBM SYSTEM 2 = 0.36, df =35, p-value = 1.00, RMSEA = 0.000 COST

โมเดลการวัดวัฒนธรรมคุณภาพ 3. VISION โมเดลการวัดวัฒนธรรมคุณภาพ EX_INFO LONGTERM REFLECT ] QUALITY CULTURE 1.CONTINUE LO 4. COLLAB IBM 5. SYSTEM COST

ระบบการประเมินรอบสอง หมวด 6 แห่ง พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติได้กำหนดให้ สมศ. ประเมินสถานศึกษาทุกระดับและทุกประเภท การประเมินรอบสองเป็นการประเมินโดยใช้มาตรฐานขั้นต่ำ การประเมินใช้หลักการ Tailor made มุ่งประเมินตามจุดเน้นของ แต่ละกลุ่มสถาบัน มีการออกแบบการประเมินที่ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์มากกว่า ปัจจัยนำเข้า/กระบวนการ

ระบบการประเมินรอบสอง ในแต่ละมาตรฐานมีจำนวนตัวบ่งชี้ร่วมและตัวบ่งชี้เฉพาะ การประเมินในแต่ละตัวบ่งชี้ใช้เกณฑ์ผสมระหว่างอิงเกณฑ์ (ร้อยละ 60) และอิงสถาบัน (ร้อยละ 40) จัดทำเกณฑ์ในการให้คะแนนในบางตัวบ่งชี้ผันแปรไป ตามแต่ละประเภท มีการตัดสินผลการประเมินทั้งระดับมาตรฐาน ระดับกลุ่มสาขาวิชา และระดับสถาบัน

ระบบการประเมินรอบสาม การจัดกลุ่มสถาบัน 4 กลุ่มเช่นเดียวกับ สกอ. การประเมินเน้นผลลัพธ์ ต่อกระบวนการ 70 ต่อ 30 ส่งเสริมให้เกิดการใช้ Automated QA ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วน โดยเฉพาะผู้ประกอบการและ สภาวิชาชีพเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการประเมิน

ทิศทางการประเมินในอนาคต วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 และเทคนิควิธีการประเมินคุณภาพ วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 นาวาตรีหญิง ดร. กิตติยา เอ็ฟฟานส รองผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)