การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
Advertisements

งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
3 กรอบการบริหารงบ P&P ปี 2553 NPP &Central Procurement (15.17) NPP &Central Procurement (15.17) P&P Area based (รวม PP Community) (58.41) P&P Area based.
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การจัดการเงินกองทุนสวัสดิการชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ ประจำปี 2551
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
(District Health System)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
โครงการ "ฟันเทียมพระราชทาน"
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ผังแนวคิดการทำงานกองทุน หลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เทศบาลตำบลเชียงคำ คณะกรร มการ กองทุนฯ กระบวนการ ทำงานหลักการ มีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วน หลักชัย ชาวเทศบาลตำบล.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล

ความเป็นมา 1. ม 47 พรบ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 2545 1. ม 47 พรบ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 2545 2. ความหมาย สถานะของ กองทุนหลักประกันสุขภาพ 3. วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่ และเงื่อนไขการยุบเลิกกองทุน 4. งบสนับสนุน (PPA) + งบสมทบ

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมหน่วยบริการ PCU 2. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม เข้าถึงบริการ 3. เพื่อสนับสนุนกลุ่ม/องค์กร ปชช. ในพื้นที่ จัดกิจกรรมส่งเสริมป้องกัน 4. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุน

องค์ประกอบ 1. นายก อบต. หรือ นายกเทศมนตรี ประธาน 1. นายก อบต. หรือ นายกเทศมนตรี ประธาน 2. ผู้ทรงคุณวุฒิในพื้นที่ 2 คน 3. สมาชิกสภา อบต. / สภาเทศบาล 2 คน 4. หน. หน่วยบริการปฐมภูมิ ทุกแห่งในพื้นที่ 5. ผู้แทน อสม. ที่คัดเลือกกันเอง 2 คน 6. ผู้แทนประชาชนในหมู่บ้าน / ชุมชน 5 คน 7. ผู้แทนศูนย์ประสานงานหลักประกันฯ หรือศูนย์รับเรื่องร้องเรียน ศูนย์ละ 1 คน ปลัด อบต. / ปลัดเทศบาล หรือ จนท.อื่น เป็นเลขานุการ

กลไกการกำกับและประเมินผล การดำเนินงานกองทุน กลยุทธ / กลไก จัดกลไกสนับสนุนด้านวิชาการ โดย ฝ่ายสาธารณสุข มีบทบาทในการ สะท้อนปัญหา แนะนำ ช่วยเหลือ ส่งเสริม องค์กรชุมชน / ประชาชน ให้มีบทบาทการตรวจสอบ เสนอแนะ และมีส่วนร่วมดำเนินงาน กลไกการกำกับและประเมินผล

การจัดบริการสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ ใน 5 กลุ่มเป้าหมาย การดำเนินงานกองทุน กรอบการดำเนินงาน การจัดบริการสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ ใน 5 กลุ่มเป้าหมาย การสนับสนุนหน่วยบริการสุขภาพในท้องถิ่น การสร้างเสริมสุขภาพ โดยการริเริ่มของประชาชนและชุมชน การบริหารจัดการกองทุน

ภาพรวมงบส่งเสริมป้องกัน ปี 53 งบ กสธ. งบ PP งบพัฒนา จว. งบท้องถิ่น 199.22 สมทบ PP exp. demand PP Nat. Priority PP area based 15.17 125.64 58.41 PP itemized 31.79 PP capitation 93.85 กองทุนตำบล PPA 18.41 40.00 (สถานบริการสุขภาพ) (ส่งเสริมป้องกันในพื้นที่)

สสจ. อปท. สสอ/รพช. รพสต./สอ. การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล ? กองทุนตำบล ? PPA 40.00 สสจ. อปท. ? กองทุนตำบล สสอ/รพช. สมทบ 20-50% ? รพสต./สอ. คกก.บริหารกองทุน

งบกองทุน กับงบ PPA สสจ. 6000 แห่ง 1933.5 1831

ประชาสัมพันธ์ รับสมัครกองทุนตามหลักเกณฑ์ประจำปี การดำเนินงานกองทุน แนวทางของ สปสช. ประชาสัมพันธ์ รับสมัครกองทุนตามหลักเกณฑ์ประจำปี การพิจารณาเห็นชอบการจัดตั้งกองทุน บันทึกข้อตกลง ชี้แจง อบรมกองทุน การสนับสนุนการดำเนินงานกองทุน

บทบาทของกองทุน เน้นความต้องการของประชาชน การดำเนินงานกองทุน บทบาทของกองทุน เน้นความต้องการของประชาชน รูปแบบการบริหารกองทุน ที่หลากหลาย สนับสนุนให้ ประชาชน มีส่วนร่วม ผลดำเนินงาน จัดตั้งกองทุน 6,000 แห่ง (2553) งบ 1,453 ล้านบาท ครอบคลุม ปชก. 36.3 ล้านคน (ไม่รวม กทม. + โคราช) ท้องถิ่น ตื่นตัว และกระตือรือร้นอย่างมาก ฝ่ายสาธารณสุข ยังไม่มีบทบาทเท่าที่ควร การจัดการสุขภาพในท้องถิ่น ???

ความล่าช้าในการเบิกจ่ายเงินกองทุน (ส่วนใหญ่) การดำเนินงานกองทุน ปัญหาอุปสรรค ความล่าช้าในการเบิกจ่ายเงินกองทุน (ส่วนใหญ่) ความไม่เข้าใจในบทบาทของกองทุน - ฝ่ายบริหาร vs ฝ่ายปฏิบัติ - ท้องถิ่น vs สาธารณสุข การนำเงินกองทุนไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ ขาดการติดตาม กำกับ ประเมินผล เพื่อปรับปรุงแก้ไข

โครงสร้างการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ 36 กองทุน บริบทท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น กองทุนขนาดใหญ่ 8 ผู้แทนชุมชน การจัดตั้งกองทุน เทศบาลนคร/เมือง อสม. จนท. สาธารณสุข การบริหารกองทุน กองทุนขนาดกลาง 12 สาธารณสุขอำเภอ เทศบาลตำบล/อบต.ใหญ่ การดำเนินงานกองทุน ผอก. รพ./ นักวิชาการ การสนับสนุนกองทุน กองทุนขนาดเล็ก 16 ผู้บริหาร สธ.จังหวัด อบต.กลาง/เล็ก ผอ. สปสช. เขต ผลกระทบจากกองทุน จำนวน/ประเภทกองทุน ผู้ให้ข้อมูล ประเด็นศึกษา

ผลการวิจัย ผู้นำท้องถิ่น ชุมชน สอ. และผู้บริหาร สธ. เห็นด้วยกับแนวคิดกองทุน การจัดตั้งกองทุน มีส่วนกระตุ้น อปท. สนใจ/สนับสนุนงานสาธารณสุขในพื้นที่มากขึ้น ปัญหาการดำเนินงาน 3 ปีแรก ขาดการเตรียมความพร้อม ผู้บริหารท้องถิ่นยังไม่เข้าใจ กองทุน 70.4% มีขนาดเล็ก ต่างคนต่างทำ ไม่มียุทธศาสตร์ร่วมกัน ขาดระบบการกำกับดูแล และตรวจสอบการใช้จ่ายเงิน ขาดการมีส่วนร่วมจากผู้บริหารของ จังหวัด/อำเภอ

ผลการวิจัย ผลกระทบจากการดำเนินงานกองทุน 1. การบริหารนโยบายสุขภาพ ขาดเอกภาพ การบูรณาการในภาพรวมของจังหวัด เนื่องจากขาดกลไกการประสานแผนระหว่างภูมิภาคกับท้องถิ่น 2. งบส่งเสริมป้องกันของ สสจ. มีแนวโน้มลดลง ส่งผลต่อการบริหารเพื่อรองรับนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขโดยตรง 3. การสาธารณสุขเขตเมือง มีแนวโน้มที่เทศบาลจะเป็นหน่วยหลักทั้งรักษา และส่งเสริมป้องกัน โดยรับโอนค่าใช้จ่ายรายหัวจาก รพศ./รพท. เป็นผลให้กลุ่มงานเวชกรรมสังคมต้องปรับบทบาทในอนาคต 4. สอ.ได้รับผลกระทบมากหรือน้อย ขึ้นกับงบประมาณจาก CUP และ สสจ. อย่างน้อยงบ PP community ที่ สอ.เคยได้รับเฉลี่ย 1-2 แสนบาทต่อแห่งถูกทยอยโอนให้กองทุน