ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี ยุทธศาสตร์จังหวัดเพชรบุรี ข้อ 2 เป็นเมืองน่าอยู่ ที่มีความมั่นคงปลอดภัย กลยุทธ์ 2.5 เสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เยาวชน คนเพชรบุรี เข้มแข็ง ภายใต้ร่มพระบารมี TO BE NUMBER ONE
ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี กลยุทธ์ เยาวชน คนเพชรบุรี เข้มแข็ง ภายใต้ร่มพระบารมี TO BE NUMBER ONE มาตรการ 1. สร้างเสริมการป้องกันปัญหา 2. สร้างเสริมบทบาทและองค์ความรู้แก่ผู้นำทางความคิดของวัยรุ่น 3. การกำจัดพื้นที่เสี่ยง สิ่งยั่วยุและอิทธิพลจากสื่อ 4. การให้ความช่วยเหลือ 5. การพัฒนาระบบงาน การติดตาม การประเมินผล
การดำเนินงาน จังหวัด 1. สร้างภาคีเครือข่ายการดำเนินงานในทุกภาคส่วน 2. บูรณาการแผนงาน/โครงการทุกภาคส่วน อำเภอ 1. เปิดสถานที่ให้บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นในชุมชน อำเภอละ 1 แห่ง 2. พัฒนาสถานบริการทีเป็นมิตรกับวัยรุ่นให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (รพ.ท่ายาง, รพ.บ้านลาด, รพ.หนองหญ้าปล้อง) ตำบล 1. ค้นหากลุ่มเสี่ยง, พื้นที่เสี่ยง 2. สนับสนุน การจัดพื้นที่สร้างสรรค์ให้วัยรุ่น (ดำเนินการต่อเนื่อง)
แผนยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด จังหวัดเพชรบุรี มี 7 แผน 4 ปรับ 3 หลัก 6 เร่ง แผนที่ 2 แผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด การบำบัดระบบสมัครใจ
การบำบัดผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ระบบสมัครใจ 1. ในสถานบริการ 2. ในชุมชน(ค่ายบำบัด 2.1 วิทยากรค่ายบำบัด 2.2 ติดตามช่วยเหลือ หลังการบำบัดรักษา
กลยุทธ์ 1. ควบคุมกำกับ การนำเป้าหมายเข้าสู่ระบบบำบัด 2. สร้างความพร้อมในการบำบัด 3. การรายงาน เพื่อประเมินผลและทราบปัญหา 4. พัฒนาเทคนิคเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ผลการดำเนินงาน การบำบัดผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ระบบ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ร้อยละ สมัครใจและค่าย 3,686 495 13.43 บังคับบำบัด 559 633 113.24 ต้องโทษ 223 160 71.75 รวม 4,468 1,288 28.83
โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) ค้นหาและสนับสนุนกิจกรรมกลุ่ม/ชมรม