Virtual Library ห้องสมุดเสมือน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
ฐานข้อมูล Nursing Resource Center
วารสารออนไลน์ เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคผิวหนัง
คุณค่าของอินเตอร์เน็ต
ศูนย์บริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี (ศสท.)
Slide :1. Slide :2 ข้อมูลบนเว็บไซต์มีจำนวนมากมายมหาศาลทำให้เข้าถึงได้ ยาก ผู้ใช้ต้องการข้อมูลที่ตรงกับความต้องการและสามารถสืบค้น ได้ง่าย พื้นฐานมาจากเทคนิคสืบค้นสารสนเทศในห้องสมุด.
ที่มาของเสิร์ชเอ็นจิน (Search Engine)
The Development of Document Management System with RDF
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC One Search
สอบรายวิชา การใช้ทรัพยากรห้องสมุด
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
Work From Anywhere To University
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
ประโยชน์และโทษของการใช้งานคอมพิวเตอร์
รูปแบบและแนวคิดสารสนเทศกับระบบการศึกษา
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
ระบบข้อสอบออนไลน์.
(Hypertext Transport Protocol)
SMTP.
Single Search คืออะไร ? เทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศรูปแบบใหม่ที่ สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอนในการเข้าถึงสารสนเทศฉบับเต็ม ผู้รับบริการสืบค้นข้อมูลครั้งเดียว แต่ได้รับสารสนเทศที่ต้องการจากหลายๆ.
วิชาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
เครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติด้วยตนเอง Self Check
คอมพิวเตอร์เน็ตเวริ์คเบื้องต้น การจัดการระบบสารสนเทศ
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
P2P คืออะไร? เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบ client-client โดยที่ client แต่ละเครื่องจะมีข้อมูลเก็บอยู่ และสามารถจำลองตนเองเป็น.
What’s P2P.
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
บัณฑิตศึกษาสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
ความหมาย ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
เรื่อง ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ ง นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
พนธกร หาดี (ptk.toomyai.ac.th) 1 ง หน่วยการเรียนรู้ที่ 5.
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
ผู้เข้าร่วมโครงการ Site Visit ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยทำให้การบริการสะดวกขึ้น
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
รูปแบบการบริการสารสนเทศ
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของคอมพิวเตอร์.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
1. บทนำเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผล ทางการทหาร เนื่องจากในยุค สงครามเย็น เมื่อประมาณ พ. ศ 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรี
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วย ให้การบริการสะดวกขึ้น จัดทำโดย ด. ญ. ชุติกาญจน์ ยี่บุญ เลขที่ 1 ม.1/12 ด. ญ. อาทิตยา มั่นหาญ เลขที่ 13 ม. 1/12.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
และเราจะเดินไปพร้อมกัน
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Virtual Library ห้องสมุดเสมือน

02 ห้องสมุดเสมือน หรือ Virtual Library ได้มีผู้ศึกษาและนิยามความหมายของคำไว้ดังนี้ สมร ตาระพันธ์  (2543, 20-21) ได้ให้ความหมายว่า ห้องสมุดเสมือน หรือ Virtual Library หมายถึง  ห้องสมุดที่เกิดจากการรวมตัวของเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องที่ติดต่อกันบนระบบเครือข่ายและใช้โปรแกรมที่มีประสิทธิภาพในการจัดการ โดยเน้นให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เพียงนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับแหล่งสารสนเทศต่างๆ ไม่ว่าสารสนเทศนั้นจะอยู่ที่ใด โดยห้องสมุดจะทำหน้าที่เป็นจุดเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้ และทำหน้าที่กระจายสารสนเทศโดยเน้นการเข้าถึงมากกว่าการเป็นเจ้าของ หนังสือที่อยู่ในห้องสมุดเสมือนจะอยู่ในรูปของอิมเมจ (Image) ซึ่งอาจเกิดจากการสแกนหน้าหนังสือ วารสาร เก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ 

02 Reid (วาสนา อภิญญาวงศ์ 2538, 26 อ้างจาก Reid 1995, 213) ให้ความหมายของคำ Virtual Library ไว้ว่าเป็นแหล่งจัดการทำสารสนเทศมาอยู่รวมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าสารนิเทศนั้นจะอยู่ในห้องสมุดแบบสมัยก่อน ๆ ที่เป็นเพียงสถานที่จัดเก็บหนังสือหรือเป็นห้องสมุดสมัยใหม่ที่มีการใช้ระบบการสื่อสารทางไกลและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยให้เข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็วก็ตาม และที่สำคัญอย่างยิ่งคือ ผู้ใช้สามารถค้นหาสารสนเทศเองได้ นอกจากนั้นยังมีการดึงสารสนเทศจากห้องสมุดที่ผู้ใช้กำลังศึกษาอยู่หรือจากแหล่งสารนิเทศภายนอกมาบรรจุให้ผู้ใช้ได้เข้าถึงสารสนเทศได้ครบถ้วนและง่าย Saunders (วาสนา อภิญญาวงศ์ 2538, 26 อ้างจาก Saunders 1995, 66) นิยามว่า Virtual Library นั้นเป็นแนวคิดหรือมโนภาพในการเข้าถึงสารนิเทศ การให้บริการของห้องสมุดต่าง ๆ หรือแหล่งสารสนเทศอื่น ๆ ที่อยู่ห่างไกลสามารถดึงมาเชื่อมโยงกับแหล่งสารสนเทศที่ผู้ใช้กำลังเข้าใช้บริการ ซึ่งมีทั้งสารสนเทศที่อยู่ในรูปสิ่งพิมพ์หรือในรูปอิเล็กทรอนิกส์ก็ตาม ด้วยการใช้ข่ายงานอิเล็กทรอนิกส์เป็นตัวกำหนดในการเข้าถึง จุดสำคัญอยู่ที่ผู้ใช้ต้องประเมินได้ว่า ห้องสมุดมีส่วนเชื่อมโยงในการนำเอาทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดหลาย ๆ แห่งทั้งใกล้และไกลให้มาทำงานร่วมกัน และมีการให้บริการโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยนั้นมีประสิทธิภาพเพียงใด

02 ห้องสมุดเสมือนจึงเป็นที่รวมแหล่งสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการจัดการอย่างมีระบบและให้บริการค้นคืนสารสนเทศแบบออนไลน์ในระบบเครือข่าย โดยที่ผู้ใช้สามารถเข้าถึงระยะไกลมายังห้องสมุดเพื่อสืบค้นและใช้สารสนเทศของห้องสมุดหรือเชื่อมโยงกับแหล่งสารสนเทศอื่นได้ทุกที่ในระบบเครือข่าย เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ได้ทุกเมื่อที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อ้างอิงจาก http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~spoungpa/book2.html