EdPEx Kick off.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2011
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
Workshop 1.
Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE)
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การจัดการความรู้ สชป.11 ประจำปีงบประมาณ 2555.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สรุปผลการทบทวนตัวชี้วัดคุณภาพและอุบัติการณ์ เพื่อแสดงแนวโน้มภาพรวมใน 3 ไตรมาส
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
ประเมินตามจริง ยิ่งเรียนรู้ ยิ่งพัฒนา
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
การตรวจประเมิน ตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2552
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
1 แบบวิจัย กิจกรรม ร้อยละร้อยละ สะสม 1. อนุมัติโครงการ จัดส่งโครงร่างเสนอ คกก. จริยธรรมวิจัย เมื่อวันที่... ได้รับอนุมัติเมื่อ วันที่ เริ่มดำเนินการ.
สถานการณ์การจัดการความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร  เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2547 ภายใต้คำรับรองการปฏิบัติราชการ มีแนวทางการดำเนินงาน  ปี 2548 ต่อยอดของเดิม.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.
การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
การรายงาน ความก้าวหน้าของการดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล วันพุธที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ห้องประชุมประชาสังคมอุดมพัฒน์
หลักการเขียนโครงการ.
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
สรุปประเด็น เป้าหมายการทำงาน – ภารกิจ 5 ด้านตาม NHA
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

EdPEx Kick off

EdPEx Education Criteria for Performance Excellence

โครงการนำร่อง 15 คณะ

ระยะที่ 1 ค้นหาและสร้างความเข้าใจ ระยะที่ 2 การปรับปรุงกระบวนงานและวัดผล ระยะที่ 3 ระยะสรุปผลโครงการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระยะที่ 4 ระยะประเมินและยกระดับคุณภาพ สิ้นสุดโครงการ ธันวาคม 2554

ระยะที่ 1 ค้นหาและสร้างความเข้าใจ 1.1 คัดเลือกคณะวิชานำร่อง 1.2 เปิดรับสมัครพี่เลี้ยง 1.3 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องเกณฑ์ EdPEx 1.4 จัดอบรมพี่เลี้ยง 1.5 คณะวิชานำร่องจัดทำโครงร่างองค์การและประเมินตนเอง 1.6 คณะวิชานำร่องจัดทำแผนพัฒนาเชิงกลยุทธ์

ระยะที่ 1 ค้นหาและสร้างความเข้าใจ 1.7 พี่เลี้ยงให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการจัดทำ โครงร่างองค์กร(OP) และแผนพัฒนาเชิงกลยุทธ์ (visit ครั้งที่ 1ใช้เวลา 2 วัน 6-7 มกราคม 2554)

ระยะที่ 1 ค้นหาและสร้างความเข้าใจ 1.8 คณะวิชานำร่อง จัดลำดับความสำคัญของประเด็นที่ต้องการพัฒนา 1.9 พี่เลี้ยงติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนาแผน (Visit ครั้งที่ 2 ใช้เวลา 1 วัน 14 มกราคม 2554) 1.10 พี่เลี้ยงประชุมหารือร่วมกับคณะกรรมการฯ สกอ. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1

ระยะที่ 2 การปรับปรุงกระบวนงานและวัดผล 2.1 คณะวิชา นำร่องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน 2.2 คณะวิชา นำร่องจัดทำแผนปรับปรุงคณะวิชา 2.3 อบรมเพิ่มเติมตามความต้องการโดย สกอ.(ถ้ามี) 2.4 คณะวิชานำร่องดำเนินงานตามแผนปรับปรุง 2.5 พี่เลี้ยงติดตาม และให้คำปรึกษาการดำเนินงานตามแผน (Visit ครั้งที่ 3) 2.6 พี่เลี้ยงประชุมหารือร่วมกับคณะกรรมการฯ สกอ. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2 2.7 คณะวิชานำร่องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน

ระยะที่ 3. ระยะสรุปผลโครงการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.1 คณะวิชานำร่องสรุปผลการปรับปรุงคุณภาพ ทบทวนผลการดำเนินงาน และระบุปัจจัยแห่งความสำเร็จพร้อมแนวปฏิบัติที่ดี 3.2 พี่เลี้ยงติดตาม และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน (Visit ครั้งที่ 4) 3.3 พี่เลี้ยงประชุมหารือร่วมกับคณะกรรมการฯ สกอ. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 3 3.4 คณะวิชานำร่องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน 3.5 คณะวิชานำร่องจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ 3.6 พัฒนาคู่มือพี่เลี้ยง และคู่มือการนำไปปฏิบัติตามเกณฑ์ EdPEx 3.7 ประชุมร่วมสรุปผลการดำเนินงาน

ระยะที่ 4. ระยะประเมินและยกระดับคุณภาพ 4.1 คณะกรรมการสุ่มประเมินภาควิชานำร่อง เพื่อให้ข้อมูลป้อนกลับ เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพ

ผลลัพธ์ของ site visit ครั้งที่ 1 โครงร่างองค์กร ฉบับปรับปรุง ประเด็นในการจัดทำแผนปรับปรุงองค์กร หมวด1-6 หมวดละ 3 ประเด็น รวม 18 ประเด็น ตัวชี้วัดในหมวด 7 ที่ สอดรับกับ 18 ประเด็น ในข้อ 2

งานที่ต้องทำต่อ หลัง site visit ครั้งที่ 1 ร่าง แผนปรับปรุงองค์กรเชิงกลยุทธ์ ที่เกิดจากการวิเคราะห์ วันที่ 6-7 มกราคม 2554 ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี ของตัวชี้วัดที่จะนำมาใช้ เป้าหมายของตัวชี้วัด

site visit ครั้งที่ 2 (14 มกราคม 2554) นำเสนอ แผนปรับปรุงองค์กรเชิงกลยุทธ์ ที่ประกอบด้วย ประเด็นที่วิเคราะห์ ใน site visit ครั้งแรก ตัวชี้วัดที่สอดคล้อง ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี เป้าหมาย ที่จะทำได้ในเดือนกันยายน 2554 ทรัพยากรที่ต้องใช้ จำนวน 6-12 ประเด็น

งานที่ต้องทำต่อ หลัง site visit ครั้งที่ 2 จัดทำแผนปรับปรุงองค์กรเชิงกลยุทธ์ ส่ง สกอ.

2.5 พี่เลี้ยงติดตาม และให้คำปรึกษาการดำเนินงานตามแผน Site Visit ครั้งที่ 3 2.5 พี่เลี้ยงติดตาม และให้คำปรึกษาการดำเนินงานตามแผน