ระบบส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion System) Health Promotion System + Environmental Health System คณะทำงานจัดทำระบบส่งเสริมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ๒๕.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
Research Mapping.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สป./กรม สปสช. สสข.*(New) กสธ.ส่วนกลาง เครือข่ายบริการ คปสข. National Health Service Delivery Board สป./กรม สปสช. National Health Authority : Strategic.
การส่งเสริมสุขภาพ พนัส พฤกษ์สุนันท์.
ปฏิญญาอุบลบุรี เราจะร่วมผลักดันบทบาทของกรมอนามัย ในการอภิบาล ระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ เราเห็นพ้องต้องกันต่อการขับเคลื่อน โดยยึดหลัก.
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย การพัฒนาระบบภาคีเครือข่าย
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ รากฐาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
กลุ่มที่ 1 ศูนย์สารสนเทศด้านสาธารณสุขและสุขภาพ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ มีความเข้มแข็งสามารถชี้นำทิศทาง นโยบายและเป็นคลังสมองของ.
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทองดี มุ่งดี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรกฎาคม ๒๕๕๖
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion System) Health Promotion System + Environmental Health System คณะทำงานจัดทำระบบส่งเสริมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ๒๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๔

Soviet Russia Alma Ata Health for All by 2000 1978 Global Conference on Health Promotion City Country Year Themes Soviet Russia Alma Ata Health for All by 2000 1978 1. Ottawa Canada 1986 The Move Towards a New Public Health Ottawa Charter 2. Adelaide Australia 1988 Building Health Public Policy 3. Sundsvall Sweden 1991 Supportive Environments for Health 4. Jakarta Indonesia 1997 New Players for a New Era 5. Mexico city Mexico 2000 Bridging the Equity Gap 6.Bangkok Thailand 2005 Policy and Partnership for Action 7.Nairobi Kenya 2009 Call to action

ระบบส่งเสริมสุขภาพในปัจจุบัน ระดับส่วนกลาง ระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับชุมชน ประชาชน ชุมชน สช. ธรรมนูญสุขภาพ ปฏิบัติการ จัดบริการ สนับสนุนวิชาการ M&E ศูนย์วิชาการ สสจ รพศ.รพท. รพช .สสอ. รพ.สต. สอ. อปท. กสธ. นโยบาย กม. คปสข. สปสช. ซื้อบริการ สปสช.เขต สสส. เคลื่อนไหวสังคม จัดสรรเงิน สวรส. วิชาการ ศธ.พม. ทส.มท.NGO ต่างประเทศ ฯลฯ หน่วยงานอื่น วิชาการ ปฏิบัติการ

Input ที่ใช้ในการกำหนดบทบาท/ภารกิจของระบบส่งเสริมสุขภาพ ผลที่ประชาชนจะได้รับจากระบบการส่งเสริมสุขภาพ การกระจายอำนาจให้พื้นที่/อปท. Actors ที่สำคัญในระบบส่งเสริมสุขภาพ ระบบการส่งเสริมสุขภาพใหม่ที่ควรเป็น

คน + ชุมชน สื่อสารความเสี่ยง ให้ความรู้ เฝ้าระวัง/สะท้อนปัญหา Policy Maker สื่อสารความเสี่ยง ให้ความรู้ คน + ชุมชน เสริม/สร้าง ความเข้มแข็ง รวมพลัง กลุ่มลูกค้า ภาคีท้องถิ่น ภาคีภาครัฐ ภาคีอื่นๆ จัดบริการ องค์ความรู้/เทคโนโลยี องค์กร สส. เป็น มาตรฐาน / กฎเกณฑ์ M&E องค์กรแห่งการเรียนรู้ ดำเนินการ เฝ้าระวัง/สะท้อนปัญหา กำกับ/ตรวจสอบ/เรียกร้อง Conceptual

ระบบส่งเสริมสุขภาพที่พึงประสงค์ เป็นระบบที่มีจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นระบบที่บูรณาการอย่างมีเอกภาพ เป็นระบบที่ตอบสนองต่อการดำเนินงานบนหลักการกระจายอำนาจ เป็นระบบที่ยึดหลักการบริหารธรรมาภิบาล เป็นระบบที่อำนวยความยุติธรรม เป็นระบบที่เชื่อมโยงในระดับสากลได้

๑.การจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ Surveillance & Information System Monitoring & Evaluation Research & Development บุคลากรมีความเชี่ยวชาญและทักษะ มีโครงสร้างรองรับในทุกระดับ มีกระบวนงานคุณภาพ

๒.การบูรณาการอย่างมีเอกภาพ มีกลไกการกำหนดนโยบายยุทธศาสตร์ มีกลไกการทำงานที่เชื่อมโยงกับภาคีเครือข่าย มีการประสานและสื่อสารเชื่อมโยงกับกลไกในระดับพื้นที่

๓.การตอบสนองการกระจายอำนาจ ส่งเสริมบทบาทภาคประชาชนและการมีส่วนร่วม ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดบริการที่มีคุณภาพ

๔.ธรรมาภิบาล(GOOD GOVERNANCE) หลักนิติธรรม (Rule of Law) หลักคุณธรรม (Integrity) ๔.ธรรมาภิบาล(GOOD GOVERNANCE) หลักความโปร่งใส (Transparent) หลักการมีส่วนร่วม (Participation) หลักความคุ้มค่า (Efficient Service) หลักความรับผิดชอบ (Accountability)

๕.อำนวยความยุติธรรม จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอย่างเป็นมาตรฐาน เสมอภาคและเป็นธรรม พัฒนากฎหมายที่สอดคล้องกับบริบท มีระบบประกันคุณภาพการจัดบริการ

๖. ความเชื่อมโยงสากล ดำเนินงานตามข้อตกลงและพันธะสัญญาระหว่างประเทศ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างประเทศ ร่วมมือกับการดำเนินงานระหว่างประเทศ คุ้มครองผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษข้ามพรมแดน

Advocate,Mediate จนเกิด Charter,Declaration MOU,Policy,Law & Regualtion,ธรรมนูญสุขภาพ,โครงการความร่วมมือ ผูกพัน

Health Promotion (HP) & Environmental Health (EH) System

Organization - Specification มี Authority Power ในการบริหารจัดการทุก Functions ในระบบส่งเสริมสุขภาพ ภายในกระทรวงสาธารณสุข เป็น Focal Point ในการทำหน้าที่ Intersectoral Collaboration กับ Health Sectors นอก สธ. และ Non Health Sectors. ที่เกี่ยวข้องกับระบบส่งเสริมสุขภาพ มี Advocacy Power ในการ Advocate ให้ Non Health Sectors พัฒนา Health Determinants ที่เกี่ยวข้องกับ Health Problems

ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดตั้งองค์กร จัดตั้งองค์กรบริหารจัดการภาพรวมของการส่งเสริมสุขภาพ โดยแบ่งเป็น ๒ ทางเลือกคือ Strengthened ระบบเดิม โดยตั้งคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพระดับกระทรวงและระดับเขตขึ้น มอบหมายหน่วยงานภายในกระทรวงทำหน้าที่เป็นเจ้าภาพหลักในแต่ละเรื่อง ตั้งคณะกรรมส่งเสริมสุขภาพระดับกระทรวงและระดับเขต และมีสำนักงานที่ทำหน้าที่บริหารจัดการยุทธศาสตร์ (OSM) ทั้งระดับกระทรวงและระดับเขต

คณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพ บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพทั้งระดับกระทรวง/ระดับเขต เน้นหนักในการทำหน้าที่ในการกำหนดทิศทาง นโยบาย ยุทธศาสตร์ และการจัดสรรทรัพยากรในภาพรวมของระดับประเทศ/เขต (System Governance) โดยอิงข้อมูลและความรู้ และ M&E ภาพรวมของทั้งระบบ การทำงานด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการและดำเนินงานของสสจ./สสอ./รพ./รพสต./อสม./ชุมชน

ประชาชน : บุคคล ครอบครัว ชุมชน National Health Board : NHB กสธ. เขตสุขภาพ ส่วนกลาง เขต สธ. Regional Health Board : RHB เขต M&E SURVEILANCE องค์ความรู้ เทคโนโลยี Regulator M&E สสจ. EMPOWERMENT รพศ.รพท.รพช. อปท. District Health Board : DHB M&E สสอ. รพ.สต. HP&EH Services HP&EH Services ประชาชน : บุคคล ครอบครัว ชุมชน

Function ในแต่ละระดับ กสธ เขต จังหวัด อำเภอ ตำบล Surveillance √ R&D รวม Standard และ Tools R2R M&E Information & KM System Governance √ √ Finance & Funder Alliance Population Protection &Empower Law/Q Law Support partner & Delivery System HP & Env Health Service √√ Law = พรบ.ที่เจ้าหน้าที่ สธ.เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตำบล = สถานบริการสธ. +เครือข่าย ในตำบล Q = Quality Assurance ทั้ง Product & Quality Management System

คนไทยทุกกลุ่มวัยสุขภาพดี ระบบส่งเสริมสุขภาพและหลัก “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เข้าใจ ประชาชนรู้เท่าทันสุขภาพ สื่อสารความเสี่ยง บริการ HP &ENV มีประสิทธิภาพ คนไทยทุกกลุ่มวัยสุขภาพดี Healthy People & Environment พัฒนา เข้าถึง ระบบส่งเสริมสุขภาพมีเอกภาพและประสิทธิภาพ อปท./ชุมชนเข้มแข็ง รพ.สต.ส่งเสริมสุขภาพดีมีคุณภาพ empowerment

สวัสดี