แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
น.พ.อมร นนทสุต.
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
1 อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ในเขต 7 ที่ผ่านเกณฑ์ สรุป : อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ ในภาพเขต 7 ผ่านเกณฑ์ร้อยละสะสม กระบวนการ มีส่วนร่วมในเขตชัดเจนมากที่สุด มีการกำกับติดตามที่ชัดเจนมากส่งผลให้ขอเป็น.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี เขตสาธารณสุขที่ 4 ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี 18 พฤษภาคม 2552

หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร เขตสาธารณสุขที่ 4 หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร เขตสาธารณสุขที่ 4 ปี 2544 – 2552 (ตค.51-เมย.52) ร้อยละ เป้าหมายปี 2552 : ร้อยละ 10

หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร รายจังหวัด ปี 2544 – 2552 (ตค.51-เมย.52) หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร รายจังหวัด ปี 2544 – 2552 (ตค.51-เมย.52) ร้อยละ เป้าหมายปี 2552 : ร้อยละ 10

หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร ปี 2552(ตค.51-เมย.52) ร้อยละ เป้าหมายปี 2552 ร้อยละ 10

อุบัติการณ์หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร เขตสาธารณสุขที่ 4 ปี 2544 – 2551 ต่อ 1000

อุบัติการณ์หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร รายจังหวัด ปี 2544 – 2551 รายจังหวัด ปี 2544 – 2551 ต่อ 1000 เป้าหมายปี 2552 : ร้อยละ 10

ผลการสำรวจสถานการณ์แท้งในประเทศไทย ปี 2542 1.จากรายงานประจำเดือนตลอดปี 2542 ในรพ.รัฐ 787 แห่ง  อัตราการทำแท้ง 19.54 : 1000 LB. โดยมีสาเหตุจาก เหตุผลทางเศรษฐกิจและสังคม ร้อยละ 60.2 มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ ร้อยละ 39.8 2.จากการสัมภาษณ์ผู้ป่วยแท้ง ใน รพ.134 แห่ง จาก 787 แห่ง ที่มีการแท้งสูงสุด ร้อยละ 40.4 แท้งเนื่องจากการทำแท้ง โดยมีสาเหตุจาก * ปัญหาเศรษฐกิจร้อยละ 56.8 * ปัญหาทางสังคม ร้อยละ 36.2 * วางแผนครอบครัวร้อยละ 34.4 * ยังเรียนไม่จบร้อยละ 26.8

อัตราการแท้งของเขตสาธารณสุขที่ 4 ปี 2544 – 2551 ต่อ1,000 LB

ชนิดของการแท้งของเขตสาธารณสุขที่ 4 ปี 2551 Spontaneous 87% (55.5:1,000 LB) Criminal Abortion 6% (3.5:1,000 LB) Therapeutic 7% (4.3:1,000 LB)

Adolescent / Pre marital Clinic, FC and AFH ยุทธศาสตร์ 1. ป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ค้นหาและระบุวัยรุ่นกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน ปรับปรุงวิธีการให้เพศศึกษา เนื้อหาสาระที่เหมาะสม (Sex and relationship education) พัฒนาบริการด้านการให้คำปรึกษาแนะแนวและบริการวางแผน ครอบครัว ออกแบบบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและการมีส่วนร่วม ของวัยรุ่น เพิ่มช่องทางการเข้าถึงบริการ ช่วยเหลือและสนับสนุนพ่อแม่ของวัยรุ่นในการสื่อสาร การสร้างค่านิยมเรื่องเพศ และการสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว เสริมสร้างพลัง ทักษะชีวิต และภูมิคุ้มกันให้กับวัยรุ่น Adolescent / Pre marital Clinic, FC and AFH

ศูนย์สามวัยสายใยรักแห่งครอบครัว 2. การดูแลแม่วัยรุ่นและครอบครัว ให้การแนะแนวและช่วยเหลือให้กลับไปเรียนต่อ หรือทำงานที่มั่นคง การทำงานกับพ่อและแม่วัยรุ่น การดูแลเด็ก และช่วยเหลือด้านที่อยู่อาศัย 3. แสวงหาความร่วมมือจากองค์กรต่างๆ ทั้งด้านสาธารณสุข การศึกษา สังคมสงเคราะห์ และอื่นๆ อย่างจริงจัง และพัฒนาศักยภาพบุคลากรของภาคีในการทำงานกับวัยรุ่น ศูนย์สามวัยสายใยรักแห่งครอบครัว

“การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ โครงการ “การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ สำหรับวัยรุ่นและเยาวชน เพื่อป้องกันและลดปัญหา การตั้งครรภ์และผลสืบเนื่อง ” (The strengthening of health system for young people to prevent and reduce teenage pregnancy and its consequences)

วัตถุประสงค์  ประสานความร่วมมือและจัดระบบการบริหารจัดการเครือข่ายด้านสุขภาวะของเด็กวัยรุ่นและเยาวชน  พัฒนาบุคลากรให้สามารถเป็นวิทยากรและดำเนินงานลดปัญหาของวัยรุ่นและเยาวชน  พัฒนาฐานข้อมูลของแม่วัยรุ่น  พัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรแก่วัยรุ่น

พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดในเขตสาธารณสุขที่ 4 และ 5 ปี 2552 : 3 จังหวัด ได้แก่ สุพรรณบุรี นครปฐม และ เพชรบุรี ปี 2553 : 2 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี และ ประจวบคีรีขันธ์ ปี 2554 : 3 จังหวัด ได้แก่ ราชบุรี สมุทรสงคราม และสมุทรสาคร

กลวิธี/กิจกรรมการดำเนินงาน สสจ สถาบันการศึกษา อปท. เทศบาล รพ. พมจ. สื่อมวลชน ประกันสังคม NGO 1.สร้างความเข้าใจและประสานความร่วมมือกับองค์กรภาคี สัมมนาผู้บริหาร นิเทศ ติดตาม 2.พัฒนาฐานข้อมูล จัดทำหลักสูตร อบรมครู ก. ขยายผลการอบรม ประเมินผลหลักสูตร 3.พัฒนาศักยภาพบุคลากร รพ. ชุมชน สถาบันการศึกษา 4.พัฒนาระบบบริการให้ครอบคลุม

ช่วงเวลาในการดำเนินงาน แผนการดำเนินงาน กิจกรรม ช่วงเวลาในการดำเนินงาน พค.52 มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. 1.สัมมนาผู้บริหารองค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง 3 จังหวัดๆละ 1 วัน  2.ประชุมพัฒนาหลักสูตร - อนามัยการเจริญพันธุ์และสารเสพติด - ค่ายแกนนำเยาวชน 3. อบรมวิทยากร (ครู ก.) 2 หลักสูตร 2 รุ่น 4. สนับสนุนวิทยากรครู ก.ขยายผลในพื้นที่ 5. สัมมนาครู ก.เพื่อประเมินผล 6. จัดประชุมทำฐานข้อข้อมูล 7. พัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรแก่วัยรุ่น 8. นิเทศ ติดตาม ประเมินผล 9. วิเคราะห์ สรุปรายงาน