สถานการณ์ ด้านพลังงานของโลก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
“สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจประเทศไทยปี 2551
ASEAN ประชากร 10 ประเทศ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซ๊ย พม่า ฟิลปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม และไทย มี 600 ล้านคน คิดเป็น ร้อยละ 9 ของประชากรโลก และเท่ากับครี่งหนึ่งของอินเดีย.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ปัญหาการเมืองไทยในปัจจุบัน
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
Primary and Final Energy
โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
“IDA คิด IDA ทำ นำอาเซียน IDA คิด IDA ทำ นำอาเซียนสู่สังคมโลก”
ร่วมสู่เส้นทางหัวใจสีเขียว เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
สถานการณ์พลังงานไทย ม.ค. – เม.ย. 2557
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ความเป็นมาของไทยกับ AFTA
ปัญหาการเมืองไทยในปัจจุบัน
เทคโนโลยีพลังงาน.
กันยายน 2555 ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์
กลุ่มวิเคราะห์ข้อมูลด้านการตลาดและธุรกิจ
10 ประเทศอาเชียน จัดทำโดย ด.ช.ปัณณทัต ด้วงทอง กลุ่ม 15 เลขที่ 41
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
กำลังการผลิตไฟฟ้า ตัวเลขปี 2542.
แผนผัง พลังงานเชิงพาณิชย์ ปี 2550
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
ภาวะอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
สถานการณ์ก๊าซปิโตรเลียมเหลว
ปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังโลก
การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย
แบบทดสอบ เรื่อง แผนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
กลยุทธ์ เด็ด รักษ์ พลังงาน สร้าง จิตสำนึก. แหล่ง แหล่ง พลังงานของไทย เมืองไทย เราอุดมสมบรูณ์ทุกอย่าง จริงมั้ย ? จริง แต่ จริง ไม่หมด รู้หรือไม่ ? เราพึ่งพาตัวเองไม่ได้
กรมคุ้มครองสิทธิและ เสรีภาพ ทำไมจึงมีการรณรงค์ เปลี่ยนแปลงโทษ ประหารชีวิต.
ดัชนี. Th ai CI MyMy MLSVPh BRBR 4. สัดส่วน ระหว่าง แรงงาน ฝีมือ และไร้ ฝีมือ 16 % (20 06) 26 % (20 07) 80 % (20 09) % (20 07) %
ความมั่นคงด้านการจัดหาปิโตรเลียมและ
ประเทศสมาชิกอาเซียน.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
10ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. นฤภร บุญส่งศรี ม.1/14 เลขที่ 20 กลุ่ม 15
เด็กชาย รัฐติพงศ์ คงจันทร์ ม.2/11 เลขที่ 15 ชิ้นงานที่8
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
จัดทำโดย ด.ญ. เนตรชนก จีระวัตร์ เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ
เป็นเป้าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิก อาเซียน เพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองและขีดความสามารถ การแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศในทุก ด้าน รวมถึงความสามารถในการรับมือกับปัญหาใหม่ๆ.
ทิศทางการลงทุนธุรกิจพลังงานทางเลือก ของประเทศไทย
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
จัดทำโดย ด.ช.จิรภัทร นิ่มเจริญ กลุ่ม15เลขที่2
จัดทำโดย ด.ญ. ประภาศิริ เซ็นแก้ว กลุ่ม 13 เลขที่ 24
A E C โครงการเตรียมความพร้อมเส้นทางสนับสนุนโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ชื่อ ด. ญ สุธาทิพย์ โลพะกูล ชิ้นงานที่ 8 การเชื่อมโยงหลายมิติ Hiper link ชั้น ม.2/2 เลขที่ 36.
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
จดหมายธุรกิจ ต่างประเทศ ที่ใช้ในกลุ่ม ประเทศอาเซียน + ตราประจำ ประเทศ.
10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย เด็กหญิง ญาธิดา หลาวเพ็ชร กลุ่ม 14 เลขที่ 14
Welcome.
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
จัดทำโดย นักเรีนยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 ปี การศึกษาที่ 2554 Srisamrongchanupathaam School Srisamrong หน้าหลัก สมาชิก ประเทศบรูไนและประเทศ กำพูชา.
ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา... ไม่มีอะไรจะอธิบายย จบปิ๊ง.
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
เด็กชาย สมพิศ อารมณ์ฤทธิ์
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์ ด้านพลังงานของโลก

GDP Growth Rate (%) ของโลก โดย IMF คาดการณ์ว่า GDP ของโลกปี 2012 จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 Source: International Monetary Fund (IMF)

ปริมาณสำรองน้ำมันของโลก ปริมาณสำรองน้ำมันของโลกปี 2010 อยู่ที่ระดับ 1,383 พันล้านบาร์เรล BP Statistical Review of World Energy © BP 2011

ปริมาณสำรองก๊าซธรรมชาติของโลก ปริมาณสำรองก๊าซธรรมชาติของโลกปี 2010 อยู่ที่ระดับ 187 ล้านล้านลูกบาศก์เมตร BP Statistical Review of World Energy © BP 2011

ปริมาณสำรองถ่านหินของโลก ปริมาณสำรองถ่านหินของโลกปี 2010 อยู่ที่ระดับ 860,938 ล้านตัน BP Statistical Review of World Energy © BP 2011

การใช้พลังงานของโลกแยกรายชนิดเชื้อเพลิง การใช้พลังงานของโลกปี 2010 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.6 โดยมีการใช้น้ำมันมากที่สุดคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 34 และการใช้ถ่านหินมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง BP Statistical Review of World Energy © BP 2011

สัดส่วนการใช้พลังงานของโลกในแต่ละทวีป ปัจจุบันทวีปเอเชียมีการใช้พลังงานมากที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 38 ของโลก โดยเป็นการใช้ถ่านหินมากที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 67 ของโลก BP Statistical Review of World Energy © BP 2011

ระยะเวลาที่สามารถใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลชนิดต่างๆ ได้ ณ ปี 2010 R/P Ratios ของโลก น้ำมัน 46 ปี ก๊าซธรรมชาติ 58 ปี ถ่านหิน 118 ปี BP Statistical Review of World Energy © BP 2011

สถานการณ์ ด้านพลังงานของอาเซียน

GDP Growth Rate (%) ประเทศ 2010 2011 อินโดนีเซีย 6.2 6.5 มาเลเซีย 7.2 5.1 ฟิลิปปินส์ 7.6 3.7 ไทย * 7.8 0.1 เวียดนาม 6.8 5.9 บรูไน 2.6 1.9 พม่า 5.3 5.5 กัมพูชา 6.0 6.1 ลาว 7.9 8.3 สิงคโปร์ 14.8 4.9 อาเซียน 4.5 ประเทศ 2010 2011 จีน 10.4 9.2 ญี่ปุ่น 4.4 -0.7 เกาหลี 6.3 3.6 ออสเตรเลีย 2.5 2.0 นิวซีแลนด์ 1.2 1.4 อินเดีย 10.6 7.2 * ไทย คาดการณ์ GDP 2012 อยู่ที่ร้อยละ 5.5-6.5 Source: International Monetary Fund (IMF)

ปริมาณสำรองปิโตรเลียมภายในประเทศมีจำกัด ปริมาณสำรอง* พิสูจน์แล้ว ยังไม่ได้พิสูจน์ รวม ใช้ได้ (ปี) Proved Reserve (P1) Probable Reserve (P2) Possible Reserve (P3) น้ำมันดิบ (ล้านบาร์เรล) 197 462 247 906 16 คอนเดนเสท 245 335 130 710 22 ก๊าซธรรมชาติ (พันล้าน ลบ.ฟุต) 10,589 11,479 6,387 28,455 27 ถ่านหิน 1,181 826 - 2,007 110 * ปริมาณ ณ สิ้นปี 2553 www.dmf.go.th

การใช้พลังงานของอาเซียน ปี 2010 รวม 459 Mtoe กลุ่มประเทศอาเซียน มีการใช้พลังงานทั้งหมด 459 Mtoe โดยประเทศอินโดนีเซีย มีการใช้พลังงานมากที่สุดคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 36 รองลงมาเป็นประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ตามลำดับ Source : ERIA research project report 2011

สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงของอาเซียน ปี 2010 อาเซียน มีสัดส่วนการใช้น้ำมันมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 44 ของการใช้ทั้งหมด รองลงมาเป็นก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน และอื่นๆ ตามลำดับ Source : ERIA research project report 2011

สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงของกลุ่มประเทศอาเซียน ปี 2010 ประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย เวียดนาม กัมพูชา และสิงคโปร์ ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงหลัก ในขณะที่ ประเทศมาเลเซีย บรูไน และพม่า ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลัก และลาว เป็นประเทศเดียวที่ใช้พลังน้ำเป็นเชื้อเพลิงหลัก Source : ERIA research project report 2011