ดำเนินงานแผนการจัดการความรู้กระทรวงพลังงาน ประจำปีงบประมาณ 2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
KM AAR.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
เสริมสร้างความยั่งยืน ทางด้านเศรษฐกิจของจังหวัด เศรษฐกิจจังหวัดขยายตัว
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 3/2554 (ครั้งที่ 3) วันศุกร์ที่ 20 พฤษภาคม 2554 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 6/2553
การประชุมคณะทำงาน PMQA หมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 10)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 2/2553 วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 8/2553
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 9/2553
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 4/2553 วันพฤหัสบดีที่ 29 เมษายน 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
1 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ณ 8 มิถุนายน 2553.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 3/2553
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 5/2553
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 7/2553 วันพฤหัสบดีที่ 22 กรกฎาคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุมปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ชั้น 6 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 2/2554 (ครั้งที่ 2)
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ประหยัดพลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดำเนินงานแผนการจัดการความรู้กระทรวงพลังงาน ประจำปีงบประมาณ 2553 สรุปผลการ ดำเนินงานแผนการจัดการความรู้กระทรวงพลังงาน ประจำปีงบประมาณ 2553

แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ 2553 กิจกรรม/กระบวนการ ปีงบประมาณ 2553 สถานะ มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. จัดตั้งคณะทำงานการจัดการความรู้กระทรวงพลังงาน X Y 2. ประชุมฯ ชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมิน /การคัดเลือก 3. การจัดทำแผนฯ/ CKO, CEO ลงนามเห็นชอบแผน 4. ดำเนินงานตามกระบวนการจัดการความรู้ และบริหารการเปลี่ยนแปลง 1. การบ่งชี้ความรู้  การเตรียมปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 2. การสร้างและ แสวงหาความรู้ การสื่อสาร 3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ  กระบวนการ และเครื่องมือ 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้  การฝึกอบรม และเรียนรู้ 5. การเข้าถึงความรู้  การวัดผล 6. การแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้  การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล 7. การเรียนรู้ (Learning) 5. จัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความรู้ 6. ติดตามความก้าวหน้าอย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี

ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ ADLI ประเด็นพิจารณา ประเด็นการตรวจ ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก สถานะ แสดงแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ ตามแนวทางที่กำหนด (A) 1. มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ 0.025 Y 2. มีรายการองค์ความรู้ที่มาจากการรวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรภายใน / ภายนอกองค์กร 3. มีรายการองค์ความรู้ เพื่อสนับสนุน/สามารถตอบรับประเด็นยุทธศาสตร์ ครบ ทุกประเด็นยุทธศาสตร์ 0.05 4. มีการจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ 0.03 5. เลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย 3 องค์ความรู้ จาก 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ แตกต่างกันพร้อมระบุเหตุผล หรือความเหมาะสมในการเลือกองค์ความรู้ 0.09 6. กำหนดเกณฑ์การวัดผลสำเร็จโดยเลือกตัวชี้วัด (KPI) ตามคำรับรองฯ หรือตัวชี้วัด (KPI) อื่น ๆ ที่สามารถสะท้อนผลลัพธ์ของแผนการจัดการความรู้ 0.12 7. มีการจัดทำ แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan ) โดยมีรายละเอียดกิจกรรมการ จัดการความรู้ต่าง ๆ ตามขั้นตอนการจัดการความรู้ครอบคลุมทั้ง 7 ขั้นตอน ในทั้ง 3 แผน 8. มีกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง ครบทั้ง 6 องค์ประกอบมาบูรณาการร่วมกัน(พิจารณาจากตาราง Matrix ตามแนวทางการจัดการความรู้ปี 50 9. มีกิจกรรมยกย่องชมเชย (CMP องค์ประกอบที่ 6) แสดงให้เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม (เพิ่มเป็นกิจกรรมที่ 8 ในแบบฟอร์มที่ 2) 0.01 10. มีการลงนามเห็นชอบ การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็น ยุทธศาสตร์จากผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO)/หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO)/หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ 0.04 11. มีการลงนามเห็นชอบ แผนการจัดการความรู้ จากผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO) / หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการ ความรู้ (CKO)/หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบ อำนาจฯ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม

ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ ADLI ประเด็นพิจารณา ประเด็นการตรวจ ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก สถานะ รายงานผลการดำเนินงานตามแผน โดยดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ ได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรมและสามารถดำเนินการที่ครอบคลุมเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ (D) สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จ ครบถ้วน ทุกกิจกรรมที่กำหนดในแผน KM ครบทั้ง 3 แผน 0.2 Y รายงานผลการดำเนินงานตามแผน โดยดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ ได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรมและสามารถดำเนินการที่ครอบคลุมเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ (D) ทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีผลการดำเนินการครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ครบทั้ง 3 แผน 0.1 มีรายงานผลการติดตามความก้าวหน้าทุกครั้งตามที่ระบุในกรอบระยะเวลาการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้และต้องไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปี โดยมีช่วงห่างของระยะเวลาในการติดตามแต่ละครั้งที่เหมาะสม

รายชื่อองค์ความรู้กระทรวงพลังงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551-2552 A1. มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ รายชื่อองค์ความรู้กระทรวงพลังงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551-2552 2551 2552 K1. การบริหารจัดการข้อมูลเชื้อเพลิงธรรมชาติ (1/ชธ) K1: การสร้างฐานความรู้เกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ในประเทศไทย (3/สนพ.) K2. การประเมินศักยภาพปิโตรเลียม (Petroleum exploration target in Northeastern Thailand) (1/ชธ) K2: การใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลวอย่างปลอดภัย (2/ธพ.) K3. ความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารและการถ่ายทอดความรู้ภายในและภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (4/พพ.) K3: ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทน (3/พพ.) K4. ความรู้เกี่ยวกับการบริหารงานด้านอนุรักษ์พลังงานตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียง (4/พพ.) K5. ความรู้เกี่ยวกับการบริหารโครงการด้านพลังงานทดแทน (3/พพ.) K6. ความรู้เกี่ยวกับการบริหารงานด้านพลังงานทดแทนตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียง (3/พพ.) หมายเหตุ : ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน (1) เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน (2) ส่งเสริมให้มีการกำกับดูแลกิจการพลังงานให้มีราคาที่เป็นธรรมส่งเสริมให้เกิดการแข่งขัน รวมทั้งคุ้มครองด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภค (3) ส่งเสริม วิจัย พัฒนาพลังงานทดแทน (4) ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง (5) ส่งเสริมการพัฒนา ผลิต และใช้พลังงานควบคู่ไปกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 5

A1. มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ (ต่อ) กระบวนการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553 จัดประชุมคณะทำงานฯ KM พน. 1. เป็นองค์ความรู้ที่จำเป็นพื้นฐานทั่วไปที่เจ้าหน้าที่ พน. ประชาชน ผู้ที่เกี่ยวข้องควรรับรู้ 2. เป็นองค์ความรู้ตามสถานการณ์ที่จำเป็นที่ส่งผลกระทบต่อการวางแผนการกำหนด นโยบายด้านพลังงานของประเทศ 3. เป็นองค์ความรู้ที่สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ และเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน พน. ครั้งที่ 1 (18 ม.ค. 2553) และ ครั้งที่ 2 (15 ก.พ. 53) องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ จำนวน 11 องค์ความรู้ ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวง องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ 1. เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน KM 1: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย KM 2: การจัดทำแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP) สนพ. 2.ส่งเสริมให้มีการกำกับดูแลฯ ความรู้เกี่ยวกับก๊าซปิโตรเลียมเหลว (ดำเนินงานในระดับกรม) ธพ. 3. ส่งเสริม วิจัย พัฒนาพลังงานทดแทน KM 3: การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน KM 4: การจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ พพ. KM 5: ความรู้เกี่ยวกับก๊าซธรรมชาติ (NG) KM 6: ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล 4. ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง KM 7: การแปลงสภาพเทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล (Biomass Conversion) KM 8: เทคโนโลยีระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มปศุสัตว์ สป.พน. 5. ส่งเสริมการพัฒนา ผลิต และ ใช้พลังงานควบคู่ไปกับกาดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม KM 9: พลังงานผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก KM 10: โครงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ชธ. (การบริหารจัดการภายในองค์กร) KM 11: ผลประโยชน์ของรัฐที่ได้รับจากการประกอบกิจการปิโตรเลียม 6

องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ พน. ปี 53 จำนวน 6 องค์ความรู้ A1. มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ (ต่อ) องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ พน. ปี 53 จำนวน 6 องค์ความรู้ ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวงฯ รายชื่อองค์ความรู้ ผู้รับ ผิดชอบ 1. เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน KM 1: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย สนพ. 3. ส่งเสริม วิจัย พัฒนาพลังงานทดแทน KM2 : เทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล (Biomass Conversion) สป.พน. KM 3: ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล ธพ. 4. ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานอย่างจริงจังและ ต่อเนื่อง KM 4: องค์ความรู้เกี่ยวกับโครงการส่งเสริมเครื่องจักรอุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูงและวัสดุอุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พพ. 5. ส่งเสริมการพัฒนา ผลิต และใช้พลังงานควบคู่ไปกับการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม KM 5: พลังงานผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก KM 6: รายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียม ตามกฎหมายว่าด้วย ปิโตรเลียม ชธ.

A1. มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ (ต่อ) เหตุผลที่เลือก ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวง องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ 1. เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน KM 1: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย (1) เหตุผลที่เลือก การก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์เป็นโครงการวางแผนระยะยาว จึงควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งโครงการนี้ สนพ. ได้คัดเลือกเป็นองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการในปีที่ผ่านมา โดยในปีงบประมาณนี้ สนพ. ได้นำเสนอประเด็นความก้าวหน้าผลการศึกษาและการเตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการผลิตไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ของปีที่ 2 ของการศึกษา (2551-2553) ถ้าหากเจ้าหน้าที่ในกระทรวงพลังงานส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรงไฟฟ้าที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์ ทำให้ไม่สามารถสร้างความรู้ความเข้าใจและทัศนคติที่ดีในการสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แก่ประชาชน สนพ. 3. ส่งเสริม วิจัย พัฒนาพลังงานทดแทน KM2: เทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล (Biomass Conversion) (2) เหตุผลที่เลือก กลุ่มเป้าหมายสามารถนำองค์รู้นี้ไปใช้ประโยชน์ ได้หลายกลุ่ม สป.พน. KM 3: ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล (3) เหตุผลที่เลือก เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ และสร้างความรู้ความเข้าใจด้านการกำหนดนโยบายและแผน มาตรการ ชนิด และคุณภาพน้ำมันแก๊สโซฮอล์ และไบโอดีเซลในอนาคต ธพ.

องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ A1. มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ (ต่อ) เหตุผลที่เลือก ประเด็นยุทธศาสตร์ พน. องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ 4. ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง KM 4: องค์ความรู้การส่งเสริมเครื่องจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงและวัสดุอุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน เหตุผลที่เลือก เพื่อให้เจ้าหน้าที่สังกัดกระทรวงพลังงานและประชาชนได้รับข้อมูลและได้รับการส่งเสริมการผลิตและจำหน่ายอุปกรณ์เครื่องจักร อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงและวัสดุอุปกรณ์การอนุรักษ์พลังงานที่ได้มีการติดฉลากแล้ว เพื่อส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ฉลากประสิทธิภาพสูงและเข้าถึงข้อมูลอย่างถูกต้อง รวมทั้งการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ประสิทธิภาพสูงเพื่อปลูกจิตสำนึกในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ประสิทธิภาพสูง พพ. 5. ส่งเสริมการพัฒนา ผลิต และใช้พลังงานควบคู่ไปกับการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม KM 5: พลังงานผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก (4) - เป็นวัตถุประสงค์ของกระทรวงพลังงาน - เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่เจ้าหน้าที่ในกระทรวงพลังงานด้านผลกระทบต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก และนำองค์ความรู้นี้ไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ต่อไป สป.พน. KM 6: ผลประโยชน์ของรัฐที่ได้รับจากการประกอบกิจการปิโตรเลียม (5) - เป็นการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่กระทรวงพลังงาน ด้านการ จัดเก็บผลประโยชน์ของรัฐจากกิจการปิโตรเลียมเกี่ยวกับค่าภาคหลวง ภาษีเงินได้และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ - เพื่อลดการต่อต้านธุรกิจปิโตรเลียมจากประชาชนในพื้นที่ ชธ.

A2. มีรายการองค์ความรู้ที่มาจากการรวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรภายใน/ภายนอกองค์กร (KM1-สนพ.) การรวบรวมองค์ความรู้ด้านการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย บุคลากรภายนอก กระทรวง บุคลากรภายในกระทรวง สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สำนักงานอัยการสูงสุด กระทรวงการต่างประเทศ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญจาก IAEA เว็ปโซต์ต่าง ๆ สำนักพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน สำนักงานปลัด กระทรวงพลังงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลการประชุมของคณะอนุกรรมการคณะต่าง ๆ ระบบกฎหมาย ระบบกำกับ และข้อผูกพันระหว่างประเทศ โครงสร้างพื้นฐานด้านอุตสาหกรรมและการพาณิชย์ การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี และการพัฒนากำลังคน ความปลอดภัยและการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม การสื่อสารสาธารณะและการยอมรับของประชาชน การเตรียมการจัดตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

(KM2-สป.พน) การรวบรวมองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล (Biomass Conversion) แหล่งภายในกระทรวง แหล่งภายนอก กระทรวง สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม สถาบันวิจัยพลังงาน  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน สำนักงานปลัด กระทรวงพลังงาน หนังสือ และเอกสารพร้อมทั้งบทความบน WWW. ชีวมวล ความหมายและคุณสมบัติ กระบวนการแปลงสภาพ การผลิตเอทานอล และน้ำมันชีวภาพ การผลิตก๊าซชีวภาพและก๊าซไฮโดรเจน C-11

(KM3-ธพ.) การรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล บุคลากรภายนอก กระทรวง บุคลากรภายในกระทรวง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย คณะกรรมาธิการพลังงาน สภาผู้แทนราษฎร สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ผู้ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ อื่นๆ สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กรมธุรกิจพลังงาน บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) องค์ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล นโยบายและมาตรการการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพ เทคโนโลยีการผลิตและสถานการณ์การใช้วัตถุดิบในการผลิต การกำหนดมาตรฐานและควบคุมคุณภาพเชื้อเพลิง การจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์และน้ำมันดีเซล( B3 และ B5) การเลือกใช้น้ำมันเชื้อเพลิงให้ตรงกับความต้องการยานยนต์ อื่นๆ C-12 12

บุคลากรภายนอกกระทรวง ผลการประชุมดำเนินงาน (KM 4-พพ.) การรวบรวมองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมเครื่องจักรประสิทธิภาพสูง บุคลากรภายนอกกระทรวง บุคลากรภายในกระทรวง สถานประกอบการผลิตและจำหน่ายเครื่องจักรอุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูงและวัสดุอุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน - กลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย - กลุ่มร้านค้าผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์ประหยัดพลังงาน - มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้า ธนบุรี - มหาวิทยาลัยมหิดล - สำนักส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน - กรมพัฒนาพลังงานฯ (พพ.) - สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน - สำนักนโยบายและแผนพลังงาน ผลการประชุมดำเนินงาน 1. การส่งเสริมผู้ผลิตเตาหุงต้มในครัวเรือนใช้กับก๊าซปิโตรเลียมเหลว 2. การส่งเสริมผู้ผลิตอุปกรณ์ปรับความเร็วรอบมอเตอร์ 3. การส่งเสริมผู้ผลิตกระจก 4. การส่งเสริมผู้ผลิตฉนวนใยแก้ว C-13 13 13

(KM5-สป.พน) การรวบรวมองค์ความรู้ด้านพลังงานผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศของโลก (Global Warming) แหล่งภายนอก กระทรวง แหล่งภายในกระทรวง สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม หนังสือ AN INCONVENIENT TRUTH , OUR CHOICE ของนายอัล กอร์ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน สำนักงานปลัด กระทรวงพลังงาน หนังสือ และเอกสารพร้อมทั้งข้อความบน WWW. ภาวะโลกร้อน ความหมายและรายละเอียด ปัจจัยที่ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แนวทางการลดผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ IPUCC C-14

กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ (KM6-ชธ) การรวบรวมองค์ความรู้ในเรื่อง รายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียมตามกฎหมาย ว่าด้วยปิโตรเลียม แหล่งภายใน กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ แหล่งภายนอก กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ สำนักบริหารสัมปทานปิโตรเลียม สำนักเทคโนโลยีการประกอบกิจการปิโตรเลียม กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.2514 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 4) พ.ศ.2532 กฏกระทรวง ประกาศกรมทรัพยากรธรณี ออกตามความในพระราชบัญญัติปิโตรเลียม ประกาศกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ โปรแกรม AXAPTA ฐานข้อมูลการลงทุนและรายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียม ข้อมูลเขตการปกครองส่วนท้องถิ่น C-15 15

A3. มีรายการองค์ความรู้ เพื่อสนับสนุน/สามารถตอบรับประเด็นยุทธศาสตร์ ครบทุกประเด็นยุทธศาสตร์ A4. มีการจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ กระทรวง รายชื่อองค์ความรู้ ผู้รับ ผิดชอบ 1. เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน KM 1: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย สนพ. 2. ส่งเสริมให้มีการกำกับดูแล กิจการฯ ความรู้เกี่ยวกับก๊าซปิโตรเลียมเหลว (ดำเนินงานในระดับกรม) ธพ. 3. ส่งเสริม วิจัย พัฒนาพลังงานทดแทน KM2 : เทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล (Biomass Conversion) สป.พน. KM 3: ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล 4. ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานอย่างจริงจังและ ต่อเนื่อง KM 4: องค์ความรู้เกี่ยวกับโครงการส่งเสริมเครื่องจักรอุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูงและวัสดุอุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พพ. 5. ส่งเสริมการพัฒนา ผลิต และใช้พลังงานควบคู่ไปกับการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม KM 5: พลังงานผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก KM 6: รายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียม ตามกฎหมายว่าด้วย ปิโตรเลียม ชธ.

กำหนดเกณฑ์การวัดผลสำเร็จ (KM ที่สนับสนุน KPI ตามคำรับรองฯ) A6. กำหนดเกณฑ์การวัดผลสำเร็จโดยเลือกตัวชี้วัด (KPI) ตามคำรับรองฯ หรือตัวชี้วัด (KPI) อื่น ๆ ที่สามารถสะท้อนผลลัพธ์ของแผนการจัดการความรู้ รายชื่อองค์ความรู้ กำหนดเกณฑ์การวัดผลสำเร็จ (KM ที่สนับสนุน KPI ตามคำรับรองฯ) เป้าหมาย KPI KM 1: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย KPI : 1.1.3 : ระดับความสำเร็จของการสร้างฐานความรู้เกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ในประเทศไทย ระดับ 3 KM2 : เทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล (Biomass Conversion) KPI : 1.1.6.2 : ระดับความสำเร็จด้านการผลิตความร้อนที่เพิ่มขึ้นจากพลังงานทดแทน KM 3: ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล KPI : 1.1.6.3 และ 1.1.6.4 : ระดับความสำเร็จของการสร้างฐานความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล KM 4: องค์ความรู้เกี่ยวกับโครงการส่งเสริมเครื่องจักร อุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูงและวัสดุ อุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน KPI : 1.1.7 : ประสิทธิภาพในการใช้พลังงานภาพรวมของประเทศ   Energy Intensity KM 5: พลังงานผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก KPI : - ระดับความสำเร็จของการจัดทำศูนย์ความรู้ทางวิชาการ KM 6: รายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียม ตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม KPI : - บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง รายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียมตามกฏหมายว่าด้วยปิโตรเลียมมากขึ้น

หลักฐานตามเอกสารแผนการจัดการความรู้ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 A7. มีการจัดทำ แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan ) โดยมีรายละเอียด กิจกรรมการ จัดการความรู้ต่าง ๆ ตามขั้นตอนการจัดการความรู้ครอบคลุม ทั้ง 7 ขั้นตอน ในทั้ง 3 แผน กิจกรรม/กระบวนการ ผลการดำเนินงาน 4. ดำเนินงานตามกระบวนการจัดการความรู้ และบริหารการเปลี่ยนแปลง กระบวนการจัดการความรู้ กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง 1. การบ่งชี้ความรู้  การเตรียมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Y 2. การสร้างและ แสวงหาความรู้ การสื่อสาร 3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ  กระบวนการ และเครื่องมือ 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้  การฝึกอบรมและเรียนรู้ 5. การเข้าถึงความรู้  การวัดผล 6. การแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้  การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล 7. การเรียนรู้ (Learning) หลักฐานตามเอกสารแผนการจัดการความรู้ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

A8. มีกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง ครบทั้ง 6 องค์ประกอบมาบูรณาการ ร่วมกัน (พิจารณาจากตาราง Matrix ตามแนวทางการจัดการความรู้ปี 50) CMP KMP 1. การเตรียมการและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. การสื่อสาร 3. กระบวนการและเครื่องมือ 4. การเรียนรู้ 5. การวัดผล 6. การยกย่องชมเชยและการให้รางวัล การบ่งชี้ความรู้ - แต่งตั้งคณะทำงานจัดการความรู้ของกระทรวงพลังงาน ประจำปีงบประมาณ 2553 ขึ้นโดยมีรองปลัดกระทรวงพลังงาน (นายเมตตา บันเทิงสุข) ในฐานะ CKO พน. เป็นประธานคณะทำงานฯ - กำหนดการประชุมคณะทำงานจัดทำแผนและติดตามความก้าวหน้า - กำหนดแผนจัดการความรู้ 5 ขั้นตอน สรุปผลการดำเนินงานตามกระบวนการจัดการความรู้ครบทั้ง 7 กระบวนการ ว่ามีความรู้ ความเข้าใจองค์ความรู้ที่ พน.ดำเนินการมากน้อยเพียงใด โดยแจกแบบสอบถาม 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ คณะทำงาน KM พน นำแนวทางด้านการจัดการความรู้ใน ปี 2553 ไปหารือ CKO ของหน่วยงาน และจัดตั้งคณะทำงานย่อย เพื่อดำเนินงานตามแผน KM ประชุมคณะทำงานฯ เวปไซด์ต่าง ๆ การรวบรวมเอกสารจากหน่วยงานต่าง ๆ 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ - ดัชนีหมวดหมู่เพื่อความสะดวกในการค้นหา - ระบบห้องสมุด 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ นำคู่มือ/เอกสารองค์ความรู้ CD ,Power-point ลงเวปไซด์ ดูรายละเอียดได้จากรายงานผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความรู้ ในขั้นตอนที่ 5

3. กระบวนการและเครื่องมือ 6. การยกย่องชมเชยและการให้รางวัล A8. มีกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง ครบทั้ง 6 องค์ประกอบมาบูรณาการ ร่วมกัน (พิจารณาจากตาราง Matrix ตามแนวทางการจัดการความรู้ปี 50) CMP KMP 1. การเตรียมการ 2. การสื่อสาร 3. กระบวนการและเครื่องมือ 4. การเรียนรู้ 5. การวัดผล 6. การยกย่องชมเชยและการให้รางวัล 5. การเข้าถึงความรู้ - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่าน Internet เพื่อเป็นช่องทางการแลกเปลี่ยนความรู้ - ประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก เช่น ลงหนังสือพิมพ์ - การจัดทำเอกสารเผยแพร่ - จัดเก็บ/จัดทำแผนที่ในคลังความรู้ - จัดทำคู่มือการใช้งานฐานข้อมูล - ประชุมสัมมนา จนท. ชี้แจงการใช้ คู่มือ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ -การจัดทำหนังสือเวียน - การจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ - Internet - ทำหนังสือเชิญเจ้าหน้าที่กระทรวงพลังงานเข้าร่วมสัมมนา การจัดสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการรณรงค์ให้ความรู้ - การจัดเสวนาทางวิชาการเพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ - การจัดสัมมนาเพื่อเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ให้ผู้บริหารสำนักงาน KM Team เจ้าหน้าที่ มีแบบสอบถาม หรือ การสอบถามในการ สัมมนาฯ 2. มีการประผลการตาม แผนการจัดการความรู้ จัดการความรู้ปี 2553 3. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม กิจกรรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 7. การเรียนรู้ แจกคู่มือการจัดการความรู้เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน หรือเป็นแนวทางการ ศึกษาวิเคราะห์ต่อไป - มีการประเมินผลหลังจบโครงการฯ - จัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนเสนอผู้บริหาร - รางวัลสำหรับผู้ตอบคำถามฯ จัดหา มอบรางวัลผู้เข้าร่วมโครงการฯ รางวัลสำหรับผู้แสดงความคิดเห็น เสนอแนะ โครงการฯ ดูรายละเอียดได้จากรายงานผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความรู้ ในขั้นตอนที่ 5

A9. มีกิจกรรมยกย่องชมเชย (CMP องค์ประกอบที่ 6) แสดงให้เห็น ชัดเจนเป็นรูปธรรม (เพิ่มเป็นกิจกรรมที่ 8 ในแบบฟอร์มที่ 2) มีการแจกรางวัลสำหรับแจกผู้ตอบคำถาม มีการแจกรางวัลสำหรับแจกผู้ซักถาม/แสดงความคิดเห็น มีการแจกรางวัลจับฉลาก และของที่ระลึกสำหรับผู้ที่ อยู่ร่วมกิจกรรมสัมมนาตลอดงาน หลักฐาน 1. รูปถ่ายในการสัมมนา (กระบวนจัดการความที่ 6,7) 2 เอกสารรายงานรายงานผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความรู้ ในขั้นตอนที่ 5

A9. มีกิจกรรมยกย่องชมเชย (CMP องค์ประกอบที่ 6) แสดงให้เห็น ชัดเจนเป็นรูปธรรม (เพิ่มเป็นกิจกรรมที่ 8 ในแบบฟอร์มที่ 2)

หลักฐานตามเอกสารจากแผนการจัดการความรู้ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 A10. มีการลงนามเห็นชอบ การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์จากผู้บริหารสูงสุดของ ส่วนราชการ (CEO)/หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) / หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ A11. มีการลงนามเห็นชอบ แผนการจัดการความรู้ จากผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO) / หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการ ความรู้ (CKO)/หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม ผู้รับผิดชอบ บทบาทหน้าที่ CEO/CKO กระทรวงฯ แต่งตั้งคณะทำงานจัดการความรู้กระทรวงพลังงาน เห็นชอบจำแนกองค์ความรู้ เห็นชอบแผนจัดการความรู้ เห็นชอบรายงานผลการดำเนินการ และข้อเสนอแนะ แบบฟอร์ม 1 แบบฟอร์ม 2 ลงนามเห็นชอบ เมื่อวันที่ 20 มี.ค. 2553 คณะทำงานฯ จัดทำแผนฯ ติดตามผล รวบรวมเอกสาร จัดทำรายงาน จัดทำข้อเสนอแนะ ผู้แทนหน่วยงานในสังกัด พน. ทั้ง 5 หน่วยงาน ดำเนินการ ตามแผนฯ รายงานความก้าวหน้า รายงานปัญหาอุปสรรค ประสาน รวบรวมเอกสารประกอบการดำเนินการ หลักฐานตามเอกสารจากแผนการจัดการความรู้ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

ผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความรู้ ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2553 D1. สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จ ครบถ้วน ทุกกิจกรรมที่กำหนด ในแผน KM ครบทั้ง 3 แผน ผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความรู้ ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2553 KM1 : การผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานนิวเคลียร์ (สนพ.) KM2 : เทคโนโลยีการแปลงสภาพ ชีวมวล (สป.พน.) KM3 : น้ำมันแก๊สโซฮอล์ และไบโอดีเซล (ธพ.) KM4 : การส่งเสริมเครื่องจักร ประสิทธิภาพสูง (พพ.) KM5 : พลังงานผลกระทบ ต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศของโลก Global Warming (สป.พน.) KM6: รายได้จากการประกอบ ธุรกิจปิโตรเลียม (ชธ.) เฉลี่ย 100% C-24

จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (60 คน) D2. ทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีผลการดำเนินการครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ครบทั้ง 3 แผน รายชื่อองค์ความรู้ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (60 คน) KM 1: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 173 คน คิดเป็น 288% KM2 : เทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล (Biomass Conversion) มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 130 คน คิดเป็น 217% KM 3: ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 102 คน คิดเป็น 170% KM 4: องค์ความรู้เกี่ยวกับโครงการส่งเสริมเครื่องจักร อุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูงและวัสดุ อุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 115 คน คิดเป็น 192% KM 5: พลังงานผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศของโลก คิดเป็น 217% KM 6: รายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียม ตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 102 คน (กำหนด 50 คน) คิดเป็น 202% C-25

ระยะเวลาในการติดตามแต่ละครั้งที่เหมาะสม D3. มีรายงานผลการติดตามความก้าวหน้าทุกครั้งตามที่ระบุในกรอบระยะเวลาการติดตามประเมินผลการ ดำเนินงานของกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้และต้องไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปี โดยมีช่วงห่างของ ระยะเวลาในการติดตามแต่ละครั้งที่เหมาะสม ครั้งที่ 1 เฉลี่ย 44% ณ 27 เม.ย. 53 ครั้งที่ 2 เฉลี่ย 50 % ณ 27 พ.ค. 53 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย 69 % ณ 7 มิ.ย. 53 ครั้งที่ 4 เฉลี่ย 82.5 % ณ 21 มิ.ย. 53 ครั้งที่ 5 เฉลี่ย 100 % ณ 19 ส.ค. 53 C-26

A5. เลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย 3 องค์ความรู้ จาก 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกันพร้อมระบุเหตุผล หรือความเหมาะสมในการเลือกองค์ความรู้ คัดเลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย 3 องค์ความรู้ จาก 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกัน ระบุเหตุผลหรือความเหมาะสมในการเลือกองค์ความรู้ C-27

ประเด็นสำคัญในการพิจารณาคัดเลือกองค์ความรู้ รายชื่อองค์ความรู้ ครบถ้วน PMQA-4 1* ครบถ้วน PMQA-7 2* มีผลสัมฤทธิ์ 3 เป้าหมาย 4 KPI=3, (16 ส.ค. ) รวม คะแนน KM 1: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ 1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (6,7) = 288% พึงพอใจมาก (1.1.3) 3.75 4 KM2 : Biomass Conversion) -ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (6,7) = 217% -พึงพอใจมาก (1.1.6.2) 1.00 3 KM 3: น้ำมันแก๊สโซฮอล์ และไบโอดีเซล -ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (6,7) = 170% (1.1.6.3), (1.1.6.4) 3.11, 3.34 KM 4: เครื่องจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง -ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (6,7) = 192% (1.1.7)  5.00 KM 5: Global Warming KM พื้นฐานทั่วไปที่เจ้าหน้าที่ พน. ประชาชน ผู้ที่เกี่ยวข้องควรรับรู้ KM 6: รายได้จากการประกอบกิจการ ปิโตรเลียมฯ -ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (6,7) = 202% 1 มีผลการดำเนินการที่ครบถ้วนตามเกณฑ์ PMQA หมวด 4 (IT7) คู่มือหน้า 170 2 มีผลดำเนินการได้ครบถ้วนตามแผนการจัดการความรู้ตามเกณฑ์ PMQA หมวด 7 (RM 4.3) คู่มือหน้า 177 3 กิจกรรมการจัดการความรู้มีผลสัมฤทธิ์ (ผลของ RM4.3) 4 KPI ที่สัมพันธ์กับประเด็นยุทธศาสตร์ที่เลือกมาเป็นองค์ความรู้บรรลุเป้าหมาย ระดับที่ 3 คู่มือหน้า 70

ข้อสรุปในการพิจารณา KM ข้อเสนอในการพิจารณาคัดเลือก 1. เลือก KM 1, KM3, KM4 เนื่องจากมีคะแนนอยู่ในระดับสูง 2. ได้ผ่านการพิจารณากลั่นกรองความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ จากที่ปรึกษา และผู้แทนคณะทำงานที่รับผิดชอบในการจัดทำ KM ของแต่ละหน่วยงานแล้ว รายชื่อองค์ความรู้ที่ขอเสนอคัดเลือก 3 องค์ความรู้ KM 1 : การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย : สนพ. KM 3 : ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล : ธพ. KM 4 : โครงการส่งเสริมเครื่องจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง และวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน : พพ.

ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินการในปี 2553 และข้อเสนอแนะในการจัดทำแผนจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ 2554 กระบวนการ ปัญหาอุปสรรค ปี 2553 ข้อเสนอแนะ ปี 2554 1. จัดตั้งคณะทำงานการจัดการความรู้กระทรวงพลังงาน - ผู้บริหารทุกหน่วยงานสังกัดกระทรวงพลังงานจะต้องให้ความสำคัญในการจัดทำองค์ความรู้ด้านพลังงานระดับกระทรวงอย่างจริงจังและต่อเนื่อง คณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดทำองค์ความรู้ไม่ควรปรับเปลี่ยนทุกปี 2. ประชุมฯ ชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมิน /การคัดเลือก 3. การจัดทำแผนฯ/ CKO, CEO ลงนามเห็นชอบแผน 4. ดำเนินงานตามกระบวนการจัดการความรู้ บุคลากรมีภาระงานมาก ทำให้การเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไม่เต็มที่ ผู้เข้าร่วมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ส่วนมากเป็นเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการและพนักงานราชการ การเสนอแนะนโยบายหรือการให้ข้อคิดเห็นต่าง ๆ จึงมีค่อนข้างจำกัด ควรจะตั้งงบประมาณในการจัดทำองค์ความรู้เฉพาะทุกปีงบประมาณ 2. ควรจัดเป็นงานในลักษณะนิทรรศการและการสัมมนา “สัปดาห์แห่งการเรียนรู้ด้านพลังงาน” 5. จัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความรู้ 6. ติดตามความก้าวหน้าอย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี