ASEAN-China FTA
รูปแบบการลดภาษีสินค้าปกติ X = MFN rate 1 Jul 03 ACFTA rate (No later than 1 Jan) 2005* 2007 2009 2010 X≥20% 20 12 5 15%≤X<20% 15 8 10% ≤X<15% 10 5%<X<10% X≤5% Standstill ข้อผูกพันเพิ่มเติม นอกจากต้องปฏิบัติตามตารางรูปแบบการลด/เลิกภาษี ประเทศสมาชิกแต่ละประเทศ ยังมีข้อผูกพันที่ต้องปฏิบัติ ดังนี้ (1) ต้องลดอัตราภาษีสินค้าปกติ อย่างน้อย 40% ของรายการสินค้าปกติทั้งหมด ลงเหลือ 0-5% ภายในวันที่ 1 กรกฎาคม 2005 (2) ต้องลดอัตราภาษีสินค้าปกติ อย่างน้อย 60% ของรายการสินค้าปกติทั้งหมด ลงเหลือ 0-5% ภายในวันที่ 1 มกราคม 2007 (3) ต้องยกเลิกภาษีสินค้าปกติทุกรายการ ภายในวันที่ 1 มกราคม 2010 ยกเว้นรายการที่จะยกเลิกภาษีภายในวันที่ 1 มกราคม 2012 (4) ต้องยกเลิกภาษีสินค้าปกติทุกรายการ ภายในวันที่ 1 มกราคม 2012 (สำหรับสินค้ากลุ่มปกติ 2; Normal Track 2) *เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2005 สินค้าในรายการ NT 2 จะมีรูปแบบการลดภาษีเช่นเดียวกับตารางข้างต้น แต่จะลดภาษีลงเป็น 0% ในปี 2012
รูปแบบการลดภาษีสินค้าอ่อนไหว และอ่อนไหวสูง รูปแบบการลดภาษีสินค้าอ่อนไหว และอ่อนไหวสูง SL 2012 X ≤ 20% 2018 X ≤ 0-5% HSL 2015 X ≤ 50%
สินค้าอ่อนไหวสูง (รวมถึงสินค้า 23 รายการที่มีโควตาภาษีภายใต้ WTO) ไทย สินค้าอ่อนไหว สินค้าอ่อนไหวสูง (รวมถึงสินค้า 23 รายการที่มีโควตาภาษีภายใต้ WTO) จีน อาเซียนเดิมและจีน เพดานรายการสินค้าอ่อนไหว สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนเดิมและจีน ต้องจำกัดจำนวนรายการสินค้าอ่อนไหว ตามเพดานรายการสินค้าอ่อนไหว ดังนี้ - แต่ละประเทศ มีรายการสินค้าอ่อนไหวได้ ไม่เกิน 400 รายการ (พิกัดฯ 6 หลัก) และ - รายการสินค้าอ่อนไหวของประเทศอาเซียนแต่ละประเทศ ต้องมีมูลค่าการนำเข้ารวมกัน ไม่เกิน 10% ของมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของประเทศอาเซียนนั้นจากจีน ขณะที่รายการสินค้าอ่อนไหวของจีน ต้องมีมูลค่าการนำเข้ารวมกัน ไม่เกิน 10% ของมูลค่าการนำเข้าจากอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ โดยใช้สถิติมูลค่าการค้าปี 2001 เป็นฐานในการคำนวณ - ในรายการสินค้าอ่อนไหว มีรายการสินค้าอ่อนไหวสูงได้ไม่เกิน 100 รายการ สินค้าอ่อนไหวของไทย สินค้าอ่อนไหวสูง (100 รายการ) เช่น สินค้าเกษตร 23 รายการ (นมและครีม มันฝรั่ง กระเทียม กาแฟ ชา น้ำมันปาล์ม น้ำตาลทราย ยาสูบ ไหม ฯลฯ) หินปูพื้น เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร รถยนต์นั่ง รถจักรยานยนต์ ฯลฯ สินค้าอ่อนไหว (251 รายการ) คือ น้ำส้ม อาหารสัตว์ สีและวาร์นิช ยางรถยนต์ รองเท้า แก้ว เหล็ก เครื่องซักผ้า หม้อแปลงไฟฟ้า เครื่องทำน้ำร้อน ของเล่น ฯลฯ สินค้าอ่อนไหวของจีน สินค้าอ่อนไหวของจีน (162 รายการ) ได้แก่ กระดาษคราฟท์ กาแฟ สับปะรดกระป๋อง ยาสูบ ฟิล์มถ่ายรูป กระดาษถ่ายรูป น้ำสับปะรด ไม้อัด ไฟรถยนต์ เป็นต้น สินค้าอ่อนไหวสูงของจีน (100 รายการ) ได้แก่ ข้าวโพด ข้าวสาร น้ำมันปาล์ม น้ำตาล ยางธรรมชาติ ไฟเบอร์บอร์ด รถโดยสาร รถจิ๊ป เป็นต้น สินค้าอ่อนไหว สินค้าอ่อนไหวสูง
สินค้าที่มีโควตาภาษี ไทยจัดสินค้าที่มีโควตาภาษี 23 รายการ ไว้เป็นสินค้าอ่อนไหวสูง ลดภาษีในโควตาเป็น 0% ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2548 ได้แก่ มันฝรั่ง หอมหัวใหญ่ กระเทียม นมและครีม มะพร้าวผล ที่ผ่านมา การนำเข้าสินค้าดังกล่าวเกือบทั้งหมดเป็นการนำเข้านอกโควตาซึ่งเสียภาษีสูง
ตัวอย่างสินค้าที่มีโควตาภาษี รายการ ข้อผูกพัน ภายใต้ WTO การนำเข้าจากจีน ปี 2545 (ก่อน FTAอาเซียน-จีน) การนำเข้าจากจีน ปี 2549 (หลัง FTA อเซียน-จีน) ในโควตา นอกโควตา กระเทียม 27%* (65 ตัน) 57% 27% (0 ตัน) (16,041 ตัน) 0% (30,493 ตัน) หอมหัวใหญ่ (365 ตัน) 142% (6,787.15ตัน) (27,092 ตัน)
กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า Wholly Obtained Regional Value Content (RVC) 40% Product Specific Rules กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า สินค้าที่จะได้รับสิทธิประโยชน์จากการลด/เลิกภาษีภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน - จีน จะต้องได้แหล่งกำเนิดสินค้า ตามกฎในข้อ 1) หรือ 2) หรือ 3) ดังนี้ 1) กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าแบบสินค้าที่ผลิตโดยใช้วัตถุดิบทั้งหมดภายในประเทศ (Wholly produced or obtained products) - ส่วนใหญ่ใช้กับสินค้าเกษตรไม่แปรรูป หรือ 2) กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าแบบ สะสมวัตถุดิบภายในประเทศสมาชิกเขตการค้าเสรีอาเซียน – จีน ไม่น้อยกว่า 40% (Regional Value Content 40%) - ผู้ส่งออกสามารถสะสมวัตถุดิบภายในประเทศสมาชิกอาเซียน-จีน รวมกันไม่น้อยกว่า 40% เพื่อให้ได้รับแหล่งกำเนิดสินค้าภายในเขตการค้าเสรีนี้ 3) กฎแหล่งกำเนิดเฉพาะสินค้า (Product Specific Rules : PSR) - อาเซียนและจีนตกลงว่า จะกำหนดให้มีสินค้าบางชนิด ที่ไม่ได้แหล่งกำเนิดสินค้าสองแบบข้างต้น มีกฎแหล่งกำเนิดเฉพาะสินค้าได้ - ขณะนี้ ได้ตกลงสินค้ากลุ่มแรกและกลุ่มที่สองของ PSR ได้แล้ว (Product Specific Rules) รวมทั้งสิ้น 562 รายการ ได้แก่ สิ่งทอ ปลากระป๋อง (แซลมอนและแฮริ่ง) เครื่องหนัง วูล (ขนสัตว์) ของปรุงแต่งจากไขมัน ปลาแปรรูป (ยกเว้นปลาทูน่าตามประเภทย่อยพิกัด 1604.14) ไอศครีม รองเท้า ไข่มุก รายการสินค้าเหล็กประเภทสแตนเลสสตีล และพลาสติก เป็นต้น
ความตกลงการค้าบริการ ลงนามความตกลงฯ เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2550 ณ เมืองเซบู ฟิลิปปินส์ พร้อมข้อผูกพันการเปิดตลาดชุดที่หนึ่ง Services แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ (1) การเจรจาจัดทำข้อบทความตกลง (Agreement on Trade in Services) (2) การเจรจาแลกเปลี่ยนข้อผูกพันการเปิดตลาด (Specific Commitments) Agreement on Trade in Services เป็นไปตามหลักการของความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ (GATS) ภายใต้ WTO โดยอาเซียนและจีนได้แนบตารางข้อผูกพันชุดที่ 1 ผนวกไว้กับความตกลงฯด้วย Schedule of Commitment ไทย ได้เสนอเปิดตลาดในสาขาบริการธุรกิจ การศึกษา การท่องเที่ยว การขนส่งสินค้าทางเรือ ซึ่งเงื่อนไขทั้งหมดอยู่ภายใต้เงื่อนไขทางกฎหมายของไทยทั้งสิ้น จีน เปิดตลาดในสาขาบริการด้านคอมพิวเตอร์ บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ บริการขนส่งสินค้าทางถนน และบริการธุรกิจอื่นๆ
ความตกลงการค้าบริการ (Package I) ข้อผูกพันการเปิดตลาดของไทย บริการธุรกิจ (วิชาชีพการบัญชี สถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม วิศวกรรม) การศึกษา การท่องเที่ยว การขนส่งสินค้าทางเรือ ข้อผูกพันการเปิดตลาดของจีน บริการธุรกิจ บริการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง บริการสิ่งแวดล้อม บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และกีฬา บริการขนส่ง Services แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ (1) การเจรจาจัดทำข้อบทความตกลง (Agreement on Trade in Services) และการเจรจาแลกเปลี่ยนข้อผูกพันการเปิดตลาด (Specific Commitments) Agreement on Trade in Services เป็นไปตามหลักการของความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ (GATS) ภายใต้ WTO โดยอาเซียนและจีนได้แนบตารางข้อผูกพันชุดที่ 1 ผนวกไว้กับความตกลงฯด้วย Schedule of Commitment ไทย ได้เสนอเปิดตลาดในสาขาต่างๆ ดังนี้ 1. บริการธุรกิจ: วิชาชีพการบัญชี สถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม วิศวกรรม 2. การศึกษา: มัธยมศึกษา อุดมศึกษา การศึกษาเทคนิคและวิชาชีพ บริการการศึกษาอื่นๆ (เฉพาะโรงเรียนสอนภาษาจีน) 3. การท่องเที่ยว: โรงแรม ภัตตคาร จัดเลี้ยง ตัวแทนท่องเที่ยว การจัดการโรงแรม 4. การขนส่ง: การยกขนสินค้าที่ขนส่งทางเรือ จีน เปิดตลาดในสาขาต่อไปนี้ ได้แก่ 1. บริการด้านธุรกิจ: - บริการคอมพิวเตอร์และที่เกี่ยวข้อง - บริการด้านธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ - บริการด้านธุรกิจอื่น (บริการวิจัยการตลาด, บริการปรึกษาด้านการจัดการ, บริการจัดหาบุคคลากร, บริการทำความสะอาดอาคาร, บริการที่เกี่ยวกับการถ่ายภาพ, การรับจ้าง พิมพ์บรรจุภัณฑ์, บริการล่ามและการแปล) 2. บริการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง 3. บริการสิ่งแวดล้อม ยกเว้นการติดตามคุณภาพสิ่งแวดล้อมและการตรวจสอบแหล่งมลภาวะ 4. บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และกีฬา บริการด้านกีฬา (ไม่รวมกอล์ฟ) 5. บริการขนส่ง - บริการขนส่งทางอากาศ (ซ่อมบำรุงเครื่องบิน, ระบบการจองตั๋ว เครื่องบินทางคอมพิวเตอร์) - บริการขนส่งทางบก (รถยนต์และรถไฟ, ขนส่งสินค้าและผู้โดยสาร, ซ่อมบำรุง) - บริการสำรองสำหรับการขนส่งในทุกรูปแบบ (บริการโกดังและคลังสินค้า, บริการรับจัดการขนส่งสินค้า)
ความตกลงการค้าบริการ (Package II) ขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการเจรจา ทั้งนี้ คาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จประมาณเดือนกรกฎาคม 2550
อยู่ระหว่างการเจรจาจัดทำความตกลง คาดว่าจะแล้วเสร็จปลายปี 2550 การลงทุน อยู่ระหว่างการเจรจาจัดทำความตกลง ด้านการลงทุน คาดว่าจะแล้วเสร็จปลายปี 2550
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อาเซียนและจีนตกลงจะให้มีความร่วมมือทางเศรษฐกิจ 1. เกษตรกรรม 2. เทคโนโลยี 3. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 4. การลงทุน 5. การพัฒนาลุ่มแม่น้ำโขง 6. ความร่วมมืออื่นๆ เช่น การธนาคาร SMEs ประมง พลังงาน เป็นต้น
ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำ ACFTA การค้าขยายตัวมากขึ้น เพิ่มแหล่งนำเข้าวัตถุดิบราคาถูก เพิ่มโอกาสในการส่งออก เพิ่มความหลากหลายของสินค้า
ภาพรวมการค้าสินค้า (พิกัด 01-97) ระหว่างไทย-จีน มูลค่า 2546 2547 2548 2549 % chg ส่งออก 236,057.8 285,753.8 367,405.4 445,296.4 21.20 นำเข้า 251,071.5 329,661.6 448,991.2 515,704.8 14.86 ดุลการค้า -15,013.7 -43,907.8 -81,585.8 -70,408.4 - 13.70 การค้ารวม 487,129.3 615,415.4 816,396.6 961,001.3 17.71 หน่วย : ล้านบาท
การค้าสินค้าเกษตร (พิกัด 01-08) ระหว่างไทย-จีน มูลค่า 2546 2547 2548 2549 % chg ส่งออก 10,843.47 13,792.31 18,203.73 22,115.67 21.49 นำเข้า 4,968.01 6,126.31 7,053.81 8,643.25 22.53 ดุลการค้า 5,875.46 7,666.00 11,149.92 13,472.42 20.83 การค้ารวม 15,811.48 19,918.62 25,257.54 30,758.92 21.78 หน่วย : ล้านบาท