งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การออกหนังสือสำคัญการส่งออก-นำเข้าสินค้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การออกหนังสือสำคัญการส่งออก-นำเข้าสินค้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การออกหนังสือสำคัญการส่งออก-นำเข้าสินค้า
กรมการค้าต่างประเทศ

2 กรมการค้าต่างประเทศ

3 ภารกิจหลัก ตรวจสอบและพิจารณาดำเนินการออกหนังสือสำคัญการส่งออก - นำเข้าสินค้า พัฒนาระบบงานออกหนังสือสำคัญการส่งออก-นำเข้าสินค้าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ สนับสนุน ส่งเสริมให้มีการใช้งานระบบการให้บริการออกหนังสือสำคัญการส่งออก-นำเข้าสินค้า ทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีประสิทธิภาพ

4 หนังสือสำคัญการส่งออก-นำเข้าสินค้า
หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า ประเภทที่สามารถนำไปใช้ประกอบในการขอรับการยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีอากรขาเข้าสินค้า ณ ประเทศปลายทาง ได้แก่ ฟอร์ม A, D, GSTP, E, FTA, JTEPA เป็นต้น หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าที่แสดงว่าสินค้ามีถิ่นกำเนิดในประเทศไทยแต่ไม่สามารถนำไปใช้ประกอบในการขอยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีขาเข้า ได้แก่ ฟอร์ม C/O ทั่วไป เป็นต้น ใบอนุญาตและหนังสือรับรองการส่งออก-นำเข้าสินค้าทั่วไป ตามพระราชบัญญัติการส่งออกไปนอกและการนำเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งสินค้า พ.ศ.2522

5 การออกหนังสือสำคัญฯ กรมการค้าต่างประเทศ

6 ประเภทการออกหนังสือสำคัญฯ

7 การลงทะเบียน ผู้ประกอบการ (Registration Database)
การทำบัตรประจำตัวผู้ส่งออกนำเข้า และบัตรผู้รับมอบอำนาจ ผู้ประกอบการ ลงทะเบียน ((Registration Database) เพื่อขอ User Name กลาง ทางระบบอิเล็กทรอนิกส์  นิติบุคคล บุคคลธรรมดา(ผู้รับมอบ) Login ด้วยUser Name กลาง ของนิติบุคคล เพื่อทำคำร้องขอ มีบัตรฯ(บก.1,บก.1/1,บก.2,บก.3) ยื่นคำร้องขอมีบัตรประจำตัวผู้ส่งออก-นำเข้า และบัตรประจำตัวผู้รับมอบอำนาจ คำร้องขอมีบัตรฯ(บก.1, บก.1/1, บก.2, บก.3)และสำเนาเอกสารประกอบ หนังสือรับรองนิติบุคคล (ไม่เกิน3เดือน) บัตรผู้เสียภาษี (ภพ.20 หรืออื่นๆ) บัตรประชาชนของกรรมการ และผู้รับมอบอำนาจ - บัตรประจำตัวทนายความ (มีวันหมดอายุ) จนท.ตรวจสอบ ความถูกต้องของเอกสาร ไม่อนุมัติ อนุมัติ จ่ายบัตรประจำตัวผู้ส่งออก-นำเข้า และบัตรผู้รับมอบอำนาจ แจ้ง Password บัตรฯมีอายุการใช้งาน 2 ปี ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้นำเข้า/ส่งออกสินค้า ที่มีการควบคุมตามมาตรการจัดระเบียบฯ จดทะเบียนส่งข้อมูล Digital Signature และ Electronic Signature and Seal ขอใบอนุญาต/หนังสือรับรองฯ ติดต่อกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สบน. มส.

8  กรณี ผู้ประกอบการ (บริษัท/ห้าง/ร้าน) ยังไม่มีบัตรประจำตัวผู้ส่งออกนำเข้าสินค้า ที่ออกโดยกรมการค้าต่างประเทศ ให้ทำการลงทะเบียนขอ User Name กลาง ของ นิติบุคคล  บุคคลธรรมดา(ผู้รับมอบอำนาจ) โดยให้กรอกข้อมูลรายละเอียดในระบบอิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์กรมการค้าต่างประเทศ  คลิกที่หัวข้อ  บริการอิเล็กทรอนิกส์  คลิกที่หัวข้อ  ระบบลงทะเบียนผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการสามารถดูตัวอย่างขั้นตอน/วิธีการกรอกข้อมูล ได้ที่เมนู  ดาวน์โหลดเอกสาร ทำคำขอมีบัตรประจำตัวผู้ส่งออกนำเข้าสินค้าและบัตรผู้รับมอบอำนาจ ทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ยื่นคำขอมีบัตรฯ (บก.1 , บก.1/1 , บก.2 บก.3) ที่สำนักบริการการค้าต่างประเทศ ชั้น 4 สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร , , Fax:

9 1. คลิก 2. คลิก คลิก Login คลิก Login

10 คลิก บริการที่เกี่ยวข้องกับ User Name กลาง

11 ตัวอย่างบัตรประจำตัวฯ
บัตรประจำตัวผู้ส่งออก-นำเข้าสินค้า บัตรประจำตัวผู้รับมอบอำนาจ

12 ใบอนุญาตและหนังสือรับรองการส่งออก-นำเข้าสินค้าทั่วไป

13 ขั้นตอนการขอหนังสือรับรอง ถิ่นกำเนิดสินค้าระบบอิเล็กทรอนิกส์
1 ลงทะเบียนผู้ประกอบการ (Registration Database) 2 ทำบัตรประจำตัวผู้ส่งออก-นำเข้าสินค้า และบัตรประจำตัวผู้รับมอบอำนาจ 3 รับ password สำหรับใช้เข้าระบบจากเจ้าหน้าที่ 4 ส่งข้อมูลจากบริษัทฯ ทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านอินเตอร์เน็ต 5 ยื่นหลักฐานเพื่อขอรับแบบฟอร์ม

14 สินค้าที่มีมาตรการส่งออก

15 มาตรการห้ามส่งออก/ขออนุญาตส่งออก
วัตถุประสงค์ในการควบคุมการส่งออกสินค้า - ป้องกันการขาดแคลน - สงวนไว้ใช้ในประเทศ - สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ - ความมั่นคง และเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ - เพื่อให้เป็นไปตามคำรับรอง/ข้อบังคับที่ให้ไว้กับ ต่างประเทศ

16 สินค้าห้ามส่งออก 2 รายการ
ทราย อาวุธยุทโธปกรณ์และวัสดุที่เกี่ยวข้องทุกประเภท ยานพาหนะและอุปกรณ์ทางการทหาร และอะไหล่ที่เกี่ยวข้อง ตามมาตรการคว่ำบาตรขององค์การสหประชาชาติ (UN) ต่อประเทศต่างๆ ดังนี้ - สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน - สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปียและประเทศเอริเทรีย - สาธารณรัฐไลบีเรีย - สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาเลีย - สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก

17 สินค้าที่ต้องขออนุญาตส่งออก
สินค้าที่ต้องขออนุญาตส่งออก รวม 17 รายการ 1. ข้าว 2. ข้าวส่งออกภายใต้โควตาภาษีของสหภาพยุโรป 3. ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง 4. กาแฟ 5. กากถั่ว 6. ไม้และไม้แปรรูปทุกชนิด 7. ถ่านไม้ 8. ช้าง 9. กุ้งกุลาดำมีชีวิต 10. หอยมุกและผลิตภัณฑ์

18 สินค้าที่ต้องขออนุญาตส่งออก
สินค้าที่ต้องขออนุญาตส่งออก รวม 17 รายการ (ต่อ) 11. น้ำตาลทราย 12. ถ่านหิน 13. ทองคำ 14. เทวรูป 15. พระพุทธรูป 16. แร่ที่มีทรายเป็นส่วนประกอบ 17. สินค้า Re-Export

19 สินค้าที่ต้องมีหนังสือรับรอง/ขึ้นทะเบียนประกอบการส่งออก
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้การส่งออกเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ส่งผลดีต่อ เศรษฐกิจของประเทศ และสอดคล้องกับเงื่อนไขที่ประเทศผู้นำเข้ากำหนด 1. ผัก และผลไม้ 2. ดอกกล้วยไม้สด 3. ลำไย 4. ทุเรียน 5. กุ้ง ปลาหมึก และผลิตภัณฑ์ 6. ปลาทูน่าบรรจุภาชนะอัดลม 7. สับปะรดกระป๋อง 8. เครื่องนุ่งห่ม ด้าย ด้ายเทียม สิ่งทอและผลิตภัณฑ์สิ่งทอ 9. รถยนต์และชิ้นส่วนของรถยนต์ที่ส่งออกไปไต้หวัน 10. เพชรที่ยังไม่ได้เจียระไน

20 สินค้าที่มีมาตรการนำเข้า

21 มาตรการห้ามนำเข้า/ขออนุญาตนำเข้า
การกำหนดมาตรการห้ามนำเข้า หรือขออนุญาตนำเข้า สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากเป็นข้อยกเว้นตามมาตรา 20 ภายใต้ความตกลงองค์การการค้าโลก (WTO) ที่ให้ประเทศภาคีใช้มาตรการทางควบคุมการนำเข้าได้ แต่ต้องอยู่ บนพื้นฐานของการไม่เลือกปฏิบัติ โดยมีเงื่อนไขเพื่อปกป้องศีลธรรมอันดี คุ้มครองชีวิต และสุขภาพของมนุษย์และสัตว์ รวมทั้งการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็น ต้น

22 มาตรการห้ามนำเข้า/ขออนุญาตนำเข้า
สินค้าห้ามนำเข้า 8 รายการ เครื่องเล่นเกม ตู้เย็น ตู้ทำน้ำแข็ง ตู้แช่แข็ง ที่ใช้สาร CFC ในการผลิต เครื่องยนต์ ส่วนประกอบและอุปกรณ์ที่ใช้แล้วของรถจักรยานยนต์ ยางรถยนต์ที่ใช้แล้ว เพชรที่ยังไม่ได้เจียระไนจากสาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน (มาตรการคว่ำบาตร) เพชรที่ยังไม่ได้เจียระไน และไม้ซุงและผลิตภัณฑ์ไม้ทุกชนิดจากสาธารณรัฐไลบีเรีย (มาตรการคว่ำบาตร) ไม้สักซุงและไม้แปรรูปประเภทไม้สัก ไม้ยาง และไม้ที่มีชนิดตรงกับไม้หวงห้ามตามแนวชายแดนจังหวัดตาก และกาญจนบุรี ภาชนะเซรามิกและภาชนะโลหะเคลือบที่ใช้บรรจุอาหาร

23 มาตรการห้ามนำเข้า/ขออนุญาตนำเข้า
สินค้าขออนุญาตนำเข้า 17 รายการ 1. ยา เภสัชเคมีภัณฑ์ 16 ชนิด 2. สารเคลนบิวเตอรอล (Clenbuterol and its salts) 3. สารอัลบิวเตอรอล หรือซัลบิวตามอล (Albuterol or Salbutamol and its salts) 4. ชิ้นส่วนเครื่องแต่งกายเฉพาะที่ยังไม่สำเร็จรูป 5. หิน 6. รถยนต์ที่ใช้แล้ว 7. รถจักรยานยนต์ที่ใช้แล้ว 8. รถยนต์บรรทุกคนโดยสารที่ใช้แล้ว

24 มาตรการห้ามนำเข้า/ขออนุญาตนำเข้า
สินค้าขออนุญาตนำเข้า 17 รายการ (ต่อ) 9. เครื่องยนต์ดีเซลที่ใช้แล้ว 10. ทองคำ 11. เหรียญโลหะ 12. โบราณวัตถุ 13. เครื่องจักรที่สามารถใช้ละเมิดลิขสิทธิ์ เทปเพลง วีดีโอเทป และแผ่นซีดี 14. เครื่องพิมพ์ร่องลึก หรือ เครื่องพิมพ์อินทาลโย เครื่องถ่ายเอกสารชนิดสอดสี 15. เศษ เศษตัด และของที่ใช้ไม่ได้ซึ่งเป็นพลาสติก 16. เลื่อยโซ่ยนต์ 17. ปลาป่น ชนิดโปรตีนต่ำกว่าร้อยละ 60

25 ค่าธรรมเนียมพิเศษในการนำเข้า
สินค้าที่ต้องชำระค่าธรรมเนียมพิเศษในการนำเข้า 3 รายการ วัตถุประสงค์ : เพื่อรักษาระดับราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ภายในประเทศ ให้เป็นไปด้วยความเหมาะสม ปลาป่น ชนิดโปรตีนตั้งแต่ร้อยละ 60 ขึ้นไป ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กากถั่วเหลือง

26 หนังสือรับรอง/ขึ้นทะเบียนประกอบการนำเข้า
สินค้าที่ต้องมีหนังสือรับรอง/ขึ้นทะเบียนประกอบการนำเข้า น้ำมันเชื้อเพลิง - น้ำมันเบนซิน น้ำมันก๊าด - น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว - ก๊าซโพรเพน ก๊าซบิวเทน ก๊าซโพรพิลีน ก๊าซบิวทิลีน ก๊าซบิวทาไดอีน และ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว - เอทานอล - ไบโอดีเซล เพชรที่ยังไม่ได้เจียระไน ไม้และไม้แปรรูปทุกชนิด รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ เครื่องใช้หรือสิ่งอื่นใดที่ทำด้วยไม้ ปลาทูน่าชนิดครีบเหลืองและผลิตภัณฑ์ ภาชนะเซรามิกและภาชนะโลหะเคลือบที่ใช้บรรจุอาหาร

27 สินค้าห้ามนำเข้าและห้ามส่งออก
สินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ สินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ สินค้าปลอม/เลียนแบบเครื่องหมายการค้า อาวุธและยุทโธปกรณ์ นำเข้าจาก/ส่งออกไปประเทศเกาหลีเหนือ นำเข้าจาก/ส่งออกไปประเทศอิหร่าน สินค้าปลอม/เลียนแบบเครื่องหมายการค้า อาวุธและยุทโธปกรณ์ นำเข้า/ส่งออกไปประเทศเกาหลีเหนือ นำเข้า/ส่งออกไปประเทศอิหร่าน ห้ามนำเข้าและห้ามส่งออก

28 สินค้าที่ต้องขออนุญาตนำเข้าและขออนุญาตส่งออก
สารกาเฟอีน สารโปแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต

29 ประเภทใบอนุญาตและหนังสือรับรอง การนำเข้า - ส่งออกสินค้าทั่วไป
ใบอนุญาตนำเข้า – ส่งออกสินค้า เพื่อนำไปใช้ประกอบพิธี การศุลกากรนำเข้าส่งออกสินค้า หนังสือรับรองแสดงการได้รับสิทธิในการชำระภาษีตาม พันธกรณี WTO หนังสือรับรองแสดงการได้รับสิทธิในการยกเว้นภาษี ทั้งหมดหรือบางส่วน

30 การยื่นขอหนังสือรับรองฯ นำเข้าสินค้า ตามข้อตกลง WTO สินค้า 22 รายการ
สินค้าตามข้อตกลง ได้แก่ นมดิบและนมพร้อมดื่ม นมผง ขาดมันเนย มันฝรั่ง (สดหรือแช่เย็น) หอมหัวใหญ่ กระเทียม มะพร้าวและมะพร้าวฝอย ลำไยแห้ง เมล็ดกาแฟ ชา(ชาใบ ชาผง) พริกไทย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าว เมล็ดถั่ว เหลือง เนื้อมะพร้าวแห้งเมล็ดพันธุ์หอมหัวใหญ่ น้ำมันถั่ว เหลือง น้ำมันปาล์มและน้ำมันเนื้อในเมล็ดปาล์ม น้ำมัน มะพร้าว น้ำตาลทราย ผลิตภัณฑ์กาแฟ กากถั่วเหลือง และ ไหมดิบ (ยังไม่เข้าเกลียว)

31 ขั้นตอนการขอใบอนุญาต / หนังสือรับรอง
1. ติดต่อขอขึ้นทะเบียน 2. ทำบัตรประจำตัวผู้ส่งออก-นำเข้า 3. ลงทะเบียนขอรหัสผ่าน ฝึกอบรมการใช้งานระบบการขอ ใบอนุญาต/หนังสือรับรอง ส่งข้อมูลเพื่อระบบตรวจสอบ - Login เข้าสู่ระบบที่ - กรอกข้อมูล และส่งข้อมูล ระบบแจ้งผลการตรวจสอบ ผ่าน/ไม่ผ่าน ผ่านการตรวจสอบจากคอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบ ติดต่อสำนักบริการการ ค้าต่างประเทศ (ชั้น 3) อาคารกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 1. ติดต่อขอพิมพ์ใบอนุญาต/หนังสือรับรอง 2. ชำระเงินค่าแบบพิมพ์ 3. ลงชื่อผู้รับมอบในคำร้อง + ประทับตรา และแนบหลักฐาน ถูกต้อง / รับคืน ไม่ถูกต้อง/ แก้ไข ดำเนินพิธีการศุลกากร

32 หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า

33 หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (Certificate of Origin)
เป็นหนังสือรับรองที่ออกให้ผู้ส่งออก เพื่อแสดงว่าสินค้ามีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย และผลิตได้ถูกต้องตามกฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า

34 หลักเกณฑ์ว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า
สินค้าที่ผลิตขึ้นโดยใช้วัตถุดิบที่เกิดขึ้นภายในประเทศทั้งหมด (Wholly obtained products) ได้แก่ สินค้าที่เพาะปลูก สกัด จากผืนแผ่นดิน หรือเก็บเกี่ยวได้ภายในประเทศของผู้ส่งออกทั้งหมด สินค้าที่ผลิตจากวัตถุดิบนำเข้า ได้แก่ สินค้าที่ผลิตขึ้นโดยทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน จากวัตถุดิบ ชิ้นส่วน หรือส่วนประกอบที่นำเข้ามาภายในประเทศผู้รับสิทธิพิเศษฯ (รวมทั้งสินค้าที่ไม่ทราบถิ่นกำเนิดที่แน่ชัด) สินค้าเหล่านี้จะมีคุณสมบัติถูกต้องต่อเมื่อได้ผ่านการแปรสภาพอย่างเพียงพอ

35 ประเภทหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า
หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าที่นำไปใช้รับรองถิ่นกำเนิดสินค้า แต่ไม่สามารถนำไปขอยกเว้น หรือลดหย่อนภาษีอากรขาเข้าได้ ได้แก่ ฟอร์ม C/O ทั่วไป เป็นต้น หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าที่นำไปใช้ เพื่อขอรับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (ขอยกเว้น หรือลดหย่อนภาษีอากรขาเข้า) ได้แก่ ฟอร์ม A, D, AI, AK, AJCEP, AANZ เป็นต้น สินค้าอยู่ในบัญชีรายการสินค้าที่ได้รับสิทธิพิเศษฯ ของประเทศผู้ให้สิทธิ สินค้ามีคุณสมบัติถูกต้องตามกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า หรือหลักเกณฑ์เงื่อนไขการให้สิทธิพิเศษฯ ส่งสินค้าโดยตรงจากประเทศที่ได้รับสิทธิพิเศษฯ ไปยังประเทศผู้ให้สิทธิ มีหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้านำไปแสดงต่อศุลกากรของประเทศผู้นำเข้า

36 หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า
GSP FORM A ATIGA/AFTA FORM D GSTP FORM GSTP FTA ASEAN - CHINA FORM E FTA THAI - AUSTRALIA, INDIA FORM FTA FTA THAI - JAPAN FORM JTEPA FTA ASEAN - JAPAN FORM AJ FTA ASEAN - KOREA FORM AK FTA ASEAN - INDIA FORM AI FTA ASEAN - AUS - NEW ZEALAND FORM AANZ FTA THAI - PERU FORM TP CERTIFICATE OF ORIGIN FORM C/O

37 ประเทศผู้ให้สิทธิ GSP
ญี่ปุ่น นอรเวย์ สวิสเซอร์แลนด์ สหพันธรัฐรัสเซีย

38 ประเทศสมาชิกอาเซียนภายใต้ AFTA
อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ บรูไน ไทย เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา

39 การขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าเพื่อการส่งออก
ผู้ส่งออก กรมการค้าต่างประเทศ ส่งออกพร้อมแนบหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า ศุลกากรประเทศผู้นำเข้า

40 เอกสารที่ใช้ในการยื่นฟอร์ม
ต้นฉบับหรือสำเนาคู่ฉบับใบกำกับสินค้า (Invoice) ต้นฉบับหรือสำเนาคู่ฉบับใบตราส่งสินค้า (Bill of Lading, Air way Bill หรือเอกสารการขนส่งอื่นๆ) แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติของสินค้าทางด้านถิ่นกำเนิดเพื่อขอใช้สิทธิพิเศษทางด้านภาษีศุลกากรสำหรับพิกัด 01-24 สินค้าภายใต้พิกัด แนบผลการตรวจคุณสมบัติทางด้านถิ่นกำเนิดสินค้า ยกเว้น ฟอร์ม A สินค้าพิกัด แนบผลการตรวจคุณสมบัติทางด้านถิ่นกำเนิดสินค้าสิ่งทอ, หนังสือรับรองการผลิตสินค้าสิ่งทอ,หลักฐานการได้มาของวัตถุดิบ

41 สาระสำคัญในฟอร์ม ชื่อ ที่อยู่ ประเทศผู้ส่งออก
ชื่อ ที่อยู่ ประเทศผู้ซื้อ หรือผู้นำเข้า เส้นทางการขนส่ง รายละเอียด พิกัด ปริมาณสินค้า กฎถิ่นกำเนิดสินค้า น้ำหนัก / มูลค่า เลขที่ / วันที่ Invoice ประเทศถิ่นกำเนิดสินค้า ประเทศผู้นำเข้าปลายทาง ลายมือชื่อเจ้าหน้าที่ พร้อมตราประทับ เลขที่ฟอร์ม เพื่ออ้างอิง

42 วิธีตรวจสอบรายการสินค้า
ที่ได้สิทธิพิเศษฯ เข้าเว็บไซต์

43

44

45

46

47

48

49 แบบฟอร์มต่างๆ

50 Form A GSP

51 Form D ATIGA/AFTA

52 Form E FTA ASEAN-CHINA

53 Form FTA FTA THAI – AUSTRALIA , INDIA

54 Form C/O CERTIFICATE OF ORIGIN

55 ระยะเวลาการเก็บรักษาสำเนาเอกสารฟอร์มต่าง ๆ
ระยะเวลา (ปี) FORM AI FTA – INDIA A AANZ AK AJ C/O D E GSTP FTA – AUS JTEPA THAI - PERU

56 Thank you


ดาวน์โหลด ppt การออกหนังสือสำคัญการส่งออก-นำเข้าสินค้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google