งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร FTA

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร FTA"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร FTA
โดย นางสุภาวดี ไชยานุกูลกิตติ ผู้อำนวยการกองสิทธิประโยชน์ทางการค้า

2 หัวข้อการบรรยาย ระบบสิทธิประโยชน์ทางการค้า
กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า และ ระเบียบปฏิบัติฯ การใช้สิทธิประโยชน์ฯ ของไทย ปัญหาและอุปสรรค

3 ตลาดส่งออกสำคัญของไทย
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประเทศ 2552 2554 2555 2556 สิทธิ ทั่วโลก 151,793 220,372 228,407 225,182 อาเซียน 32,369 55,503 56,442 58,381 AFTA (สัดส่วน) (21.33%) (24.28%) (24.71) (25.93) 2. จีน 16,059 25,987 26,759 26,826 FTA (10.58%) (11.79%) (11.71) (11.91) 3. ญี่ปุ่น 15,655 23,629 23,365 21.901 GSP,FTA (10.31%) (10.72%) (10.22) (9.73) 4. สหรัฐอเมริกา 16,594 21,563 22,667 22,707 GSP (10.93%) (9.79%) (9.92) (10.08) 5. สหภาพยุโรป 18,085 23,942 21,728 22,187 (11.91%) (10.87%) (9.51) (9.85) 6. อื่นๆ 53,031 69,748 77,446 73,179 (34.94%) (32.55%) (33.90%) (32.49) ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาการส่งออกสินค้าไทยมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยปี 2556 มีมูลค่าส่งออกมากกว่า 225,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ฯ ซึ่งเป็นการส่งออกโดยใช้สิทธิประโยชน์ หรือสิทธิพิเศษทางการค้าหลายกรอบหลายความตกลง ส่วนใหญ่จะเป็นการส่งออกไปยังกลุ่มประเทศอาเซียน ซึ่งมีสัดส่วนการส่งออกประมาณ ร้อยละ 26 ของการส่งออกทั้งหมด รองมาเป็นการส่งออกไปจีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป โดยเป็นการใช้สิทธิประโยชน์ หรือสิทธิพิเศษทางการค้าแตกต่างกัน ข้อสังเกตุ: จะเห็นได้ว่าการประเทศคู่ค้าสำคัญ 3 อันดับแรกของไทย เป็นประเทศที่เป็นคู่ภาคี FTA กับไทยแล้วทั้งสิ้น

4 สิทธิประโยชน์ทางการค้า
ปัจจุบันไทยมีความตกลงทางการค้ากับประเทศคู่ค้าสำคัญในภูมิภาคต่าง ๆ ทั้งในกรอบพหุภาคีและทวิภาคีหลายความตกลง ได้แก่ GSP GSTP FTA ปัจจุบันไทยมีความตกลงทางการค้ากับประเทศคู่ค้าสำคัญในภูมิภาคต่าง ๆ ทั้งในกรอบพหุภาคีและทวิภาคีหลายความตกลง ได้แก่ 1.GSP ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป : เป็นสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรที่ประเทศพัฒนาแล้วให้กับประเทศกำลังพัฒนา ในการลด /ยกเว้นภาษีขาเข้าให้ประเทศกำลังพัฒนา เป็นการให้สิทธิฯ ฝ่ายเดียว โดยอาจมีเงื่อนไข/มาตรฐานเทคนิคอื่น ๆ ประกอบ เช่น ระดับการพัฒนาประเทศ GDP การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาและสิทธิบัตรยา การคุ้มครองแรงงานเด็กและสตรี การเปิดตลาดสินค้าและบริการ ทั้งนี้ ระบบ GSP กำลังลดความสำคัญลง เนื่องจากประเทศไทยมีระดับการพัฒนาประเทศที่สูงขึ้น โดย World Bank ได้จัดอันดับประเทศไทยให้อยู่ในระดับ Upper Middle Income หรือเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลางค่อนข้างสูงเป็นระยะเวลา 3 ปีติดกัน (ปี ) แล้ว ซึ่งในปี 2015 ประเทศที่ระงับการให้สิทธิ GSP แก่ไทย ได้แก่ GSP สหภาพยุโรป ตุรกี แคนาดา ในส่วนของสหรัฐอเมริกาก็ได้ระงับสิทธิเป็นการชั่วคราวมาตั้งแต่สิ้นเดือนกรกฎาคม 2556 เป็นต้นมา 2.GSTP แลกเปลี่ยนสิทธิพิเศษในกลุ่มสมาชิก 43 ประเทศ 3.FTA : แลกเปลี่ยนสิทธิประโยชน์ภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรี : ลด / ยกเว้นภาษีขาเข้าให้ประเทคู่ค้า / กลุ่มภูมิภาค : แลกเปลี่ยนผลประโยชน์อื่น ๆ ระหว่างกัน ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป ประเทศพัฒนาแล้วให้กับประเทศกำลังพัฒนา สิทธิพิเศษในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาและพัฒนาน้อยที่สุด แลกเปลี่ยนสิทธิพิเศษในกลุ่มสมาชิก 43 ประเทศ ความตกลง เขตการค้าเสรี ลด / ยกเว้นภาษีขาเข้าให้ประเทศคู่ค้า / กลุ่มภูมิภาค

5 สัดส่วนการใช้สิทธิ GSP ทุกระบบ ปี 2556
11/19/2018 สัดส่วนการใช้สิทธิ GSP ทุกระบบ ปี 2556 หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประเทศ ส่งออกสินค้าที่ได้รับสิทธิ มูลค่าการใช้สิทธิ % การใช้สิทธิ สหภาพยุโรป 13,586.88 9,052.06 66.62 สหรัฐอเมริกา 4,707.30 3,341.14 70.98 ตุรกี 85/.45 684.57 79.84 สวิตเซอร์แลนด์ 734.29 305.34 41.58 แคนาดา 634.01 270.19 42.62 รัสเซีย/CIS 314.02 207.01 65.92 ญี่ปุ่น 493.71 29.70 6.02 นอร์เวย์ 39.12 29.30 74.90 รวม 21,366.78 13,919.31 65.41

6 ระบบ GSP ของสหภาพยุโรป
11/19/2018 ระบบ GSP ของสหภาพยุโรป มีการพิจารณาโครงการทุกๆ 10 ปี ปัจจุบันอยู่ในช่วงของโครงการที่ 4 แบ่งเป็น 3 ช่วง ช่วงที่ 1 วันที่ 1 มกราคม ธันวาคม 2551 ช่วงที่ 2 วันที่ 1 มกราคม ธันวาคม 2554 ช่วงที่ 3 วันที่ 1 มกราคม 2555 – 31 ธันวาคม 2558

7 โครงการ GSP สหภาพยุโรป
การตัดสิทธิฯ เป็นหมวดสินค้า สินค้าไทย 3 กลุ่ม ที่จะถูกตัดสิทธิ์ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 -กลุ่มสินค้าอาหารทะเลแปรรูป -กลุ่มสินค้าเกษตร : น้ำตาล โกโก้ ผลิตภัณฑ์ธัญพืช ผัก/ผลไม้แปรรูป ซอสปรุงแต่งอาหาร เครื่องดื่ม อาหารสัตว์ -กลุ่มสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับ การตัดสิทธิ์รายประเทศ ไทยถูกระงับการให้สิทธิ์ ตั้งแต่ 1 ม.ค 2558

8 ความคืบหน้าการประชุมเจรจาปัญหาถูกตัด GSP
ไทยจะถูก EUระงับสิทธิ์ GSP ทั้งหมดตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 การส่งออกสินค้าโดยใช้สิทธิ์ในปี 2557 ต้องผ่านพิธีการศุลกากรนำเข้าที่ประเทศปลายทางให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2557 การแก้ปัญหาถูกระงับสิทธิ์ GSP ต้องเร่งเจรจา FTAกับสหภาพ ยุโรป นำรายการสินค้าที่ถูกตัด GSP มาเร่งลดภาษีทันที ไทยได้เจรจา FTA กับสหภาพยุโรปแล้ว 3 ครั้ง และเจรจาด้านเทกนิคครั้งที่ 4 ในต้นเมษายน 2557

9 สหภาพยุโรปตัดสิทธิ GSP สินค้าพิกัดฯ 16 – 23 และพิกัดฯ 71
วันที่ 1มกราคม 2558 ไทยจะถูกตัดสิทธิ GSP ทุกรายการ เนื่องจากประเทศไทยมีรายได้ประชาชาติต่อหัวอยู่ในกลุ่ม Upper - Middle income (3,946 – 12,195 เหรียญสหรัฐฯ) หรือสูงกว่า ติดต่อกันเป็นเวลา 3 ปี ดังนั้นผู้ส่งออกที่จะส่งสินค้าไปสหภาพยุโรปต้องเร่งดำเนินการตามขั้นตอนพิธีการศุลกากร ณ ประเทศปลายทางให้เสร็จสิ้นภายใน วันที่ 31 ธันวาคม 2557

10 แคนาดาตัดสิทธิพิเศษฯภายใต้ระบบ GSP
ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 ไทยและประเทศผู้รับสิทธิพิเศษฯจากแคนาดารวม 72 ประเทศ จะถูกตัดสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรสำหรับสินค้าทุกรายการ เนื่องจากไทยถูกธนาคารโลกจัดระดับการมีรายได้ประชาชาติต่อหัวอยู่ในกลุ่มรายได้ปานกลางค่อนข้างสูง(Upper - Middle income ) ติดต่อกันเป็นเวลา 3 ปี ผู้ส่งออกที่จะส่งสินค้าไปแคนาดาต้องเร่งดำเนินการส่งสินค้าออกเพื่อให้สินค้าเดินทางถึงประเทศปลายทางและดำเนินการตามขั้นตอนพิธีการศุลกากรให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ดังนั้นผู้ส่งออกต้องขอหนังสือรับรองฯเพื่อใช้สิทธิพิเศษฯ ล่วงหน้าก่อนถูกตัดสิทธิฯในวันที่ 1 มกราคม 2558

11 ความตกลง FTA ที่มีผลบังคับใช้แล้ว 12 ความตกลง
อาเซียน-จีน (ACFTA) 20 ก.ค.2548 อาเซียน-เกาหลี (AKFTA) 1 ม.ค.2553 ไทย-อินเดีย (TIFTA) 1 ก.ย.2547 อาเซียน-อินเดีย (AIFTA) 1 ม.ค.2553 ไทย-ญี่ปุ่น (JTEPA)1 พ.ย.2550 อาเซียน-ญี่ปุ่น (AJCEP) 1 มิ.ย.2552 ไทย-เปรู 31 ธ.ค.2554 Content Layouts อาเซียน (AEC) 1 ม.ค. 2536 ไทย-นิวซีแลนด์ (TNZCEP) 1ก.ค.2548 ไทย-ออสเตรเลีย (TAFTA) 1 ม.ค.2548 ไทย- ชิลี ลงนาม 4 ต.ค.2556 อยู่ระหว่างดำเนินการภายใน อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ (AANZFTA) 12 มี.ค.2553

12 สรุปเขตการค้าเสรี 6 ฉบับ อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์
สรุปเขตการค้าเสรี 6 ฉบับ อาเซียน เริ่มใช้ปี 2536 ปัจจุบัน 99.8% ของสินค้าลดภาษีเป็น 0% แล้ว การเปิดตลาดการค้าบริการตามข้อผูกพันชุดที่ 8 ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้ว อยู่ระหว่างดำเนินการเพื่อให้ข้อผูกพันมีผลใช้บังคับ ความตกลงการลงทุนมีผลบังคับใช้เมื่อ 29 มี.ค. 2555 อาเซียน-จีน เริ่มใช้ปี 2546 ปัจจุบัน 90% ของสินค้าลดภาษีเป็น 0% แล้ว เปิดตลาดการค้าบริการตามข้อผูกพันชุดที่ 2 เมื่อ 1 ม.ค. 2555 อยู่ระหว่างจัดทำพิธีสารฯ เพื่อรวมข้อบทเรื่อง SPS และ TBT เข้ากับความตกลงการค้าสินค้า อาเซียน-เกาหลีใต้ เริ่มใช้ปี 2553 ปัจจุบัน 92.3% ของสินค้าลดภาษีเป็น 0% แล้ว เตรียมการทบทวนเพื่อปรับปรุงการเปิดตลาดสินค้าอ่อนไหว อาเซียน-ญี่ปุ่น เริ่มใช้ปี 2553 ปัจจุบัน 80% ของสินค้าลดภาษีเป็น 0% แล้ว อยู่ระหว่างจัดทำความตกลงการค้าบริการ และความตกลงการลงทุน อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ เริ่มใช้ปี 2553 ปัจจุบัน 85% (นิวซีแลนด์) และ 90% (ออสเตรเลีย)ของสินค้าลดภาษีเป็น 0% แล้ว อยู่ระหว่างทบทวนมาตรการมิใช่ภาษี การเปิดตลาดบริการเพิ่มเติม และวิธีการจัดทำข้อสงวนในการเปิดตลาดการลงทุน อาเซียน-อินเดีย (สินค้า) เริ่มใช้ปี 2553 โดยที่ 70% ของสินค้าจะลดภาษีเป็น 0% ในวันที่ 31 ธ.ค. 2556

13 ความตกลง FTA ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
อยู่ระหว่างการเจรจา ไทย-EFTA ไทย-สหภาพยุโรป อาเซียน-รัสเซีย อยู่ระหว่างการพิจารณา ไทย-CANADA ไทย-เกาหลี อยู่ระหว่างการศึกษา อาเซียน +3 Content Layouts อาเซียน +6 อาเซียน-MERCOSUR RCEP BIMSTEC อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา

14 การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี
สินค้าอยู่ในบัญชีรายการที่ได้รับสิทธิลด / ยกเว้นภาษี ตรวจสอบคุณสมบัติ ถิ่นกำเนิดสินค้า ผลิตถูกต้องตามกฎถิ่นกำเนิดสินค้า มีเอกสารประกอบการใช้สิทธิ Certificate of Origin Self - Certification

15

16 ONE PRODUCT…but Laser Scanner Flash Memory Voice Recorder
Laser Pointer Refillable Pen ใช้พิกัดหลังสุด = 5% ตามที่กรมศุลกากรเคยวินิจฉัย = 10%

17 กฎถิ่นกำเนิดสินค้า Rules of Origin
หัวใจของการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า หลักเกณฑ์ ในการตัดสิน หรือ พิสูจน์ว่า สินค้ามีสัญชาติ หรือ ถิ่นกำเนิดในประเทศใด

18 Wholly Produced or Obtained
Origin Criteria Wholly Obtained (WO) กฎการใช้วัตถุดิบภายในประเทศทั้งหมด หลักเกณฑ์การใช้วัตถุดิบนำเข้า กฎการแปรสภาพอย่างเพียงพอ (Substantial Transformation : ST) หรือ กฎการเปลี่ยนพิกัด % สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศ (Regional Value Content : RVC) Not Wholly Produced or Obtained กฎถิ่นกำเนิดสินค้า มี 2 กรณี 1.เกณฑ์การผลิตในประเทศทั้งหมด : WO เป็นสินค้าที่เป็น “ผลผลิตทั้งหมด” หรือ “ได้มาทั้งหมด” จากในประเทศ--> ต้นกำเนิดสินค้าเป็นของไทย เช่น เส้นหมี่ << แป้งข้าวจ้าว<<ข้าวไทย 2.เกณฑ์การใช้วัตถุดิบนำเข้าหรือส่วนประกอบมาผลิตสินค้า - ต้องได้รับการแปรสภาพอย่างเพียงพอ เป็นสินค้าใหม่ และเปลี่ยนพิกัดสินค้าไม่ใช่พิกัดเดียวกับสินค้านำเข้า หรือ - มีสัดส่วนต้นทุนและมูลค่าการผลิต ที่เรียกว่า RVC : Regional Value Content ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของราคา FOB - บางข้อตกลงจะมีกฏเฉพาะรายสินค้าด้วย กฎเฉพาะรายสินค้า Product Specific Rule

19 Wholly Obtained : พืช ขยะ แร่ธาตุ สัตว์ ทรัพยากร
1. Description of the business 4. Description of the business แร่ธาตุ ขยะ 5. Description of the business 2. Description of the business สัตว์ 3. Description of the business สินค้าที่ผลิตหรือได้มาจาก ในประเทศทั้งหมด

20 Substantial Transformation :
HS10 เมล็ดข้าวสาลี HS11 แป้งสาลี HS5402 เส้นด้าย HS5407 ผ้าผืน HS เพชรดิบ HS เพชรเจียร

21 กฎสัดส่วนมูลค่าการผลิต % of Regional Value Content :
กำหนดไว้แตกต่างกันตามแต่ละความตกลง FTA FTA % RVC AFTA 40 % อาเซียน-จีน อาเซียน-เกาหลี อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ อาเซียน-อินเดีย 35 % ไทย-นิวซีแลนด์ 50 % FTA % RVC อาเซียน-ญี่ปุ่น PSR ไทย-ญี่ปุ่น ไทย-ออสเตรเลีย ไทย-อินเดีย ไทย-เปรู *PSR: Product Specific Rule

22 Back-to-Back ประเทศ ประเทศ ประเทศ ผู้ผลิต ผู้นำเข้า คนกลาง ออก
Content Layouts ออก Form D ออก Back-to-back C/O *** ห้ามมีการเปลี่ยนแปลงสินค้า

23 Third Country Invoicing
ไต้หวัน ไทย เวียดนาม Order

24

25 Product of: Era Venture Pte Ltd, Singapore
Produced by: Fortune Laboratories Sdn Bhd, Malaysia Distributed by - Silver Lake Trading Ltd, Hong Kong - Landom Distributions Pte Ltd, Singapore - PT Citra Usaha Lamindo, Jakarta – Indonesia

26 กลยุทธ์การใช้สิทธิประโยชน์ภาษีอากรใน ASEAN
สิงคโปร์เป็นเจ้าของสินค้า ผลิตที่มาเลเซีย ใช้แหล่งกำเนิดในมาเลเซียเพื่อขาย ASEAN โดยใช้สิทธิจาก AEC อากรนำเข้าแต่ละประเทศใน ASEAN = 0 จัดจำหน่ายโดย สิงคโปร์ เพื่อนำเข้าทุกประเทศใน ASEAN เพื่อกระจายไปทุกประเทศในส่วนต่างๆของโลก อินโดนีเซีย พลเมืองมากกว่า 200 ล้าน เป็นตลาดใหญ่ที่สุดของ ASEAN ฮ่องกง เพื่อส่งเข้าจีน โดยใช้สิทธิ CEPA (CLOSER ECONOMIC PARTNERSHIP AGREEMENT)ระหว่างจีน – ฮ่องกง

27 พัฒนาการล่าสุดของอาเซียน
ระบบการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง (Self Certification) การใช้ประโยชน์ทางการค้า หรือ การใช้ Form D ในอาเซียน นั้นเป็นเอกสาร Hard Copy ปัจจุบัน อาเซียนได้พัฒนาไปอีกขั้นโดยลดการใช้กระดาษในส่วนหนึ่ง หรือ อาจเรียกได้ว่า Less Paper ซึ่งนั่นก็คือ ระบบการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเองของผู้ส่งออก (Self Certification) ซึ่งเป็นโครงการนำร่อง ทั้งนี้ปัจจุบัน มีประเทศสมาชิกโครงการ 4 ประเทศ ได้แก่ บรูไน มาเลเซีย ไทย และสิงคโปร์ โดยโครงการ นำร่องนี้จะมีอายุถึง 31 ตุลาคม 2555 และคาดว่าจะใช้จริงในปี 2556

28 สมาชิกอาเซียนที่เข้าร่วมโครงการนำร่อง
ดำเนินการตามระเบียบปฏิบัติในการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า Operational Certification Procedure : OCP โครงการนำร่องที่ฯ 2 ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สปป.ลาว ทำ MOU ระหว่างกัน เมื่อ 29 สค. 55 (ไทยอยู่ระหว่างการดำเนินการ) โครงการนำร่องฯที่ 1 บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร์ (เริ่ม 1 พย. 53) ไทย (เริ่ม 28 ตค. 54)

29 ข้อแตกต่าง โครงการนำร่องฯ ที่ 1 โครงการนำร่องฯ ที่ 2
ประเทศที่เข้าร่วม บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และ สปป. ลาว ผู้ได้รับสิทธิรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง ผู้ส่งออกที่ได้รับอนุญาต (ผู้ผลิตและส่งออก หรือ ผู้ส่งออก) ผู้ผลิตที่ได้รับอนุญาต (ผู้ผลิต เท่านั้น) เอกสารที่ใช้รับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง ทำบน Invoice หรือ Billing Statement, Deliverly Order, Packing List ทำบน Invoice เท่านั้น และ ไม่รับหลักการ Third Country Invoicing

30 ข้อความที่ใช้รับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง
โครงการนำร่องฯที่ 1 “The exporter of the product (s) covered by this document (Certified Exporter No...……………) declares that, except where otherwise clearly indicated, the products satisfy the Rules of Origin to be considered as ASEAN Originating Products under ATIGA (ASEAN country of origin:…………….), with origin criteria: ………………..” โครงการนำร่องฯที่ 2 “The exporter of the product (s) covered by this document ( Certified Exporter Authorization No...…………) declares that, except where otherwise clearly indicated, the products (HS Code/s…….) satisfy the Rules of Origin to be considered as ASEAN Originating Products under ATIGA (ASEAN country of origin: ……………), with origin criteria: ……………….” 30

31 “Certified Exporter” Self-Certification ของอาเซียน
ผู้ส่งออกที่จะรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง ต้องได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น ผู้ส่งออกที่ได้รับสิทธิรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง “Certified Exporter” กับหน่วยงานของรัฐ และ ต้องมีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลของสำนักเลขาธิการอาเซียน 31

32 หน้าที่ของ Certified Exporter
รายงานข้อมูลการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าให้กรมฯ ในแต่ละเดือน อายุสิทธิ 2 ปี ต้องจัดเก็บหลักฐานการผลิตและส่งออกและ Invoice ที่ระบุข้อความรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าไว้เพื่อการติดตามตรวจสอบอย่างน้อย 3 ปี ผู้ส่งออกที่ได้รับการขึ้นทะเบียน เป็นผู้ส่งออกที่ได้รับอนุญาตจะมีอายุสิทธิ 2 ปี และมีหน้าที่ต้อง รายงานข้อมูลการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าให้กรมฯ ในแต่ละเดือน ต้องจัดเก็บหลักฐานการผลิตและส่งออกและ Invoice ที่ระบุข้อความรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าไว้เพื่อการติดตามตรวจสอบอย่างน้อย 3 ปี ผู้ส่งออกต้องให้ความร่วมมือให้หลักฐานและข้อเท็จจริง ผู้ส่งออกต้องให้ความร่วมมือให้หลักฐานและข้อเท็จจริง

33 การใช้สิทธิ FTA ของไทย

34 การใช้สิทธิ FTA ของไทย ระหว่างปี 2554-2556
หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ %การใช้สิทธิ 63% 58% 70%

35 การใช้สิทธิ FTA ของไทยในปี 2556 รายประเทศ
หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ %การใช้สิทธิ 58% 90% 91% 80% 55% 68% 5 % 16%

36 การใช้สิทธิ FTA ของไทยในปี 2556 แต่ละกรอบความตกลง
หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ

37 มูลค่าการใช้สิทธิภายใต้ AFTA ปี 2556
สัดส่วนการส่งออกของไทย ภายใต้สิทธิ AFTA ไปยังอาเซียน ประเทศ มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ Δ% 56/55 2554 2555 2556 อินโดนีเซีย 5,989.19 6,055.70 7,078.68 16.89 เวียดนาม 3,169.01 2,749.07 3,679.03 33.83 มาเลเซีย 3,087.47 2,860.34 3,514.54 22.87 ฟิลิปปินส์ 2,163.60 2,360.84 2,976.83 26.09 สิงคโปร์ 503.30 395.30 417.09 5.51 เมียนมาร์ 25.90 84.91 256.43 202.00 กัมพูชา 113.90 137.48 225.74 64.20 ลาว 108.55 130.72 142.16 8.75 บรูไน 20.63 19.60 19.15 - 2.30 รวม 15,181.55 14,793.96 18,309.65 23.76 อินโดนีเซีย อันดับ 1 เวียดนาม อันดับ 2 มาเลเซีย อันดับ 3

38 การใช้สิทธิ AFTA สินค้าที่ใช้สิทธิสูง ได้แก่ ยานยนต์สำหรับขนส่งของ
รถยนต์และยานยนต์อื่นๆ ส่วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบยานยนต์ เครื่องปรับอากาศที่ประกอบด้วยพัดลม ส่วนประกอบอื่นๆของตัวถังยานยนต์ และ เครื่องตักเชิงกล 58% 58% 58% %การใช้สิทธิ

39 ปัญหาอุปสรรคการใช้สิทธิ AFTA
- สินค้าบางรายการ อัตราภาษี MFN Rate ในปัจจุบันได้ลดภาษีลง ต่ำกว่าในอดีต และอาจใกล้เคียงกับอัตราภาษี MFN Rate - ผู้ส่งออกที่ทำการค้าบริเวณชายแดนขาดความรู้ความเข้าใจใน การปฏิบัติตนเพื่อขอใช้สิทธิพิเศษทางภาษี เช่น Third Country Invoicing และ Back-to-Back การระบุพิกัดศุลกากรอาเซียน (AHTN) บน Form D ยังมีความเข้าใจไม่ตรงกันในเรื่อง HS ฉบับปี 2007 และ 2012

40 การใช้สิทธิ FTA อาเซียน-จีน
สินค้าที่ใช้สิทธิสูง ได้แก่ ยางผสมคาร์บอนแบล็กแผ่นบาง/แถบ มันสำปะหลัง พารา-ไซลีน น้ำมันปิโตรเลียมดิบและน้ำมันดิบที่ได้จากแร่บิทูมินัสอื่นๆ และ โพลิเมอร์ของเอทิลีน กุ้งสด กุ้งแช่แข็ง 90% 89% 88% %การใช้สิทธิ

41 ปัญหาอุปสรรคการใช้สิทธิ ACFTA
- ผู้ประกอบการไม่สามารถผลิตสินค้าให้เป็นไปตามกฎถิ่นกำเนิด สินค้า RVC40% ผู้ประกอบการไทยที่ส่งสินค้าไปจีนและมีการถ่ายลำเรือที่ฮ่องกง และไต้หวัน ประสบปัญหาต้องแสดงเอกสาร Certificate of Non- Manipulation ที่รับรองโดย China Inspection Company Limited (CIC) ซึ่งเพิ่มต้นทุน (2,300-2,500 $HK/shipment) และ เพิ่มระยะเวลาในการขนส่งอีก 6-11 วัน - ข้อจำกัดในการใช้สิทธิ Back-to-Back ได้เพียงครั้งเดียว

42 การใช้สิทธิ FTA ไทย-อินเดีย
สินค้าที่ใช้สิทธิสูง ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ เม็ดพลาสติก (โพลิคาร์บอเนต) อะลูมิเนียมเจือ (อิพอกไซด์เรซิน) และ เครื่องรับโทรทัศน์สี 74% 77% 72% %การใช้สิทธิ

43 การใช้สิทธิ FTA อาเซียน-อินเดีย
สินค้าที่ใช้สิทธิสูง ได้แก่ เครื่องยนต์ดีเซล โพลิเมอร์ ส่วนประกอบยานยนต์ แอร์คอมเพรสเซอร์ และ เอทิลีน 40% 40% 45% %การใช้สิทธิ

44 ปัญหาอุปสรรคการใช้สิทธิ TIFTA และ AIFTA
การเจรจาเป็นไปอย่างล่าช้า และอินเดียมีท่าทีต้องการยุติการเจรจาด้านสินค้า* - รายการสินค้า TIFTA มีเพียง 83 รายการ (อยู่ระหว่างเจรจาเพิ่มรายการสินค้า) - กฎ ROO ภายใต้ AIFTA คือ RVC35%+CTSH เท่านั้น! (อยู่ระหว่างเจรจา PSR) ซึ่งสินค้าไทยบางชนิดผลิตได้ไม่ถึงเกณฑ์ * อ้างอิงจากผลการหารือระหว่างปลัดกระทรวงการต่างประเทศฝ่ายไทยและอินเดีย อินเดียกีดกันการนำเข้าภายใต้สิทธิ FTA ของไทย เช่น เครื่องประดับทองคำ LED TV อะลูมิเนียม ฯลฯ - กักสินค้าไว้ที่ด่าน - บังคับให้ระบุ RVC100% บน C/O - การตรวจสอบ C/O ย้อนหลังจำนวนมาก ฉบับ

45 การใช้สิทธิ FTA ไทย-ออสเตรเลีย
สินค้าที่ใช้สิทธิสูง ได้แก่ ยานยนต์น้ำหนักรถรวมน้ำหนักบรรทุกไม่เกิน 5 ตัน ที่จุดระเบิดโดยการอัด รถยนต์ความจุของลูกสูบตั้งแต่ 1,500-3,000 ลบ.ซม รถยนต์ความจุกระบอกสูบ 1,000-1,500 ลบ.ซม. ยานยนต์น้ำหนักรถรวมน้ำหนักบรรทุกไม่เกิน 5 ตัน ที่จุดระเบิดด้วยประกายไฟ ปลาทูน่าแปรรูป 87% 83% 91% %การใช้สิทธิ

46 การใช้สิทธิ AANZFTA ไปยังออสเตรเลีย
สินค้าที่ใช้สิทธิสูง ได้แก่ เอทิลีนเทเรฟทาเลต เครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ แว่นตา เลนส์แว่นตา ตู้เย็น และ ส่วนประกอบของที่นั่ง 4.2% 3.6% 5.7% %การใช้สิทธิ

47 การใช้สิทธิ AANZFTA ไปยังนิวซีแลนด์
สินค้าที่ใช้สิทธิสูง ได้แก่ ของใช้ลำเลียง/บรรจุ/ปิดครอบสินค้าทำด้วยโพลิเมอร์ของเอทิลีน โพลิเมอร์ โพลิเอทิลีน กากเหลือจากการผลิตสตาร์ช อาหารปรุงแต่งอื่นๆ และ เครื่องใช้เซรามิก 5.4% 4.4% 7.5% %การใช้สิทธิ

48 ปัญหาอุปสรรคการใช้สิทธิ AANZ
- ส่วนต่างอัตราภาษีที่ได้จากการลด/ยกเว้นภาษี รวมเป็นมูลค่า น้อย ไม่คุ้มกับต้นทุนธุรกรรมในการขอใช้สิทธิ - ผู้ประกอบการเลือกที่จะใช้สิทธิ TAFTA เนื่องจากกฎ ROO ยืดหยุ่นกว่า ส่วนลดอัตราภาษีดีกว่า

49 การใช้สิทธิ FTA ไทย-ญี่ปุ่น
สินค้าที่ใช้สิทธิสูง ได้แก่ เนื้อไก่และเครื่องในไก่ ปรุงแต่ง กุ้งที่ปรุงแต่ง กุ้งแช่แข็ง โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต เดกซ์ทริน และโมดิไฟด์สตาร์ช 79% 79% 74% %การใช้สิทธิ

50 การใช้สิทธิ FTA อาเซียน-ญี่ปุ่น
สินค้าที่ใช้สิทธิสูง ได้แก่ กุ้งที่ปรุงแต่ง เอสเอเอ็นโคโพลิเมอร์ ปลาปรุงแต่ง ปลาซาร์ดีนปรุงแต่ง เสื้อทีเชิ้ตทอ 1.4% 1.2% 1.8% %การใช้สิทธิ

51 ปัญหาอุปสรรคการใช้สิทธิ JTEPA & AJCEP
- กฎ ROO บางตัวไม่สอดคล้อง เช่น ทูน่าแปรรูป - การเปิดตลาดรถยนต์ 3,000 CC ขึ้นไปของไทยหยุดชะงัก อาจกระทบกับการลงทุนของบริษัทรถยนต์ญี่ปุ่นในไทย อย่างไรก็ดี หากเปิดตลาดฯ อาจกระทบต่ออุตสาหกรรม Eco-Car ของไทย AJCEP: - กฎ ROO (กฎทั่วไปและ PSR) ยากกว่า JTEPA - อัตราภาษีสูงกว่า JTEPA JTEPA กฎ ROO บางตัวไม่สอดคล้อง เช่น ทูน่าแปรรูป พิกัด กฎกำหนดให้ทูน่าจะต้องจับจากเรือที่ขึ้นทะเบียน IOTC (Indian Ocean Tuna Commission หรือ คณะกรรมาธิการปลาทูน่าแห่งมหาสมุทรอินเดีย เป็นองค์กรจัดการประมงระดับภูมิภาค ที่ตั้งขึ้นภายใต้ธรรมนูญขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) เมื่อปีพ.ศ. 2539) ซึ่งเป็นเรือน้ำลึก แต่เรือประมงไทยไม่เคยขึ้นทะเบียนดังกล่าว - การเปิดตลาดรถยนต์ 3,000 CC ขึ้นไปของไทยหยุดชะงัก อาจกระทบกับการลงทุนของบริษัทรถยนต์ญี่ปุ่นในไทย การเจรจาด้านการค้าสินค้าภายใต้ JTEPA ไม่คืบหน้าในขณะนี้ เนื่องจากเหตุผลดังนี้ ไทยไม่สามารถหาข้อสรุปการเปิดตลาดรถยนต์เพิ่มเติมในรถยนต์ขนาดมากกว่า 3,000 ซีซี ตามที่ฝ่ายญี่ปุ่นร้องขอได้ เหตุผลสำคัญ คือ ญี่ปุ่นไม่ได้ทำตามในประเด็นการให้ความช่วยเหลือของญี่ปุ่นภายใต้โครงการสถาบันบุคลากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมยานยนต์ภายใต้ JTEPA (AHRDIP) เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมยานยนต์ของไทย ฝ่ายไทยเกรงว่าการเปิดตลาดรถยนต์ 3,000 CC+ จะส่งผลให้ภาษีรถขนาดใหญ่ลดลง อาจกระทบต่อนโยบายอุตสาหกรรมรถยนต์ไทยที่ภาครัฐสนับสนุนรถยนต์ขนาดเล็กที่ประหยัดพลังงาน (Eco-car)

52 การใช้สิทธิ FTA อาเซียน-เกาหลี
สินค้าที่ใช้สิทธิสูง ได้แก่ น้ำมันปิโตรเลียมดิบและน้ำมันดิบที่ได้จากแร่บิทูมินัส ยางธรรมชาติ (ทีเอสเอ็นอาร์) ก๊าซปิโตรเลียมและก๊าซไฮโดรคาร์บอนอื่นๆ ดีบุกไม่เจือ เมทิลออกซิเรน (โพรพิลีนออกไซด์) 68% 68% 77% %การใช้สิทธิ

53 ปัญหาอุปสรรคการใช้สิทธิ AKFTA
อัตราภาษีภายใต้ FTA ไม่จูงใจให้ผู้ประกอบการมาใช้สิทธิ เนื่องจากลดลงจากอัตราภาษีภายใต้ MFN น้อย น้ำตาลทราย สินค้าไทยบางรายการที่มีศักยภาพในการแข่งขันในตลาดเกาหลีแต่ไม่สามารถใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลีได้ เช่น น้ำตาลทรายดิบ เนื่องจากข้อกำหนดตามหลักการต่างตอบแทนสำหรับสินค้าอ่อนไหว ซึ่งเกาหลีจะให้สิทธิพิเศษทางภาษีแก่ไทยเมื่อไทยลดภาษีนำเข้าสินค้าประเภทเดียวกันลงเหลือร้อยละ ๑๐ หรือต่ำกว่า แม้ว่าปี 2015 ภาษีนำเข้าน้ำตาลของไทยภายใต้ AKFTA จะลดลงเหลือ 7.22% แต่ทั้งนี้เกาหลีไม่สามารถลดแบบ Automatic 0%ได้ จะต้องมีการเจรจาขอให้เกาหลีลดอัตราภาษีลงอีก

54 การใช้สิทธิ FTA ไทย-เปรู
สินค้าที่ใช้สิทธิสูง ได้แก่ เครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น โทรทัศน์สี เครื่องซักผ้าขนาดเล็ก หลอดฟลูออเรสเซนต์ โพลิเอทิลีน ลูกฟุตบอล เครื่องใช้บนโต๊ะอาหารและเครื่องครัว ถุงยางคุมกำเนิด 16% 14% 12% %การใช้สิทธิ

55 ปัญหาอุปสรรคการใช้สิทธิ TPFTA
รายการสินค้าที่นำมาลดภาษีระหว่างกัน เป็นรายการที่ไม่มี การส่งออกหรือส่งออกน้อยมาก สินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกสูง เช่น รถกระบะ เป็นสินค้าที่ ไม่ได้อยู่ในรายการลดภาษี อัตราภาษีภายใต้ FTA ไม่จูงใจให้ผู้ประกอบการมาใช้สิทธิ เนื่องจากลดลงจากอัตราภาษีภายใต้ MFN น้อย ยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก ความตกลงมีผลใช้บังคับเมื่อ 31 ธ.ค. 2554

56 หน้าที่ของภาครัฐ . ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมความรู้ ประสานงาน/เจรจา
ด้าน FTA ประสานงาน/เจรจา อำนวยความสะดวก ทางการค้า Focus Group เพื่อให้ได้ข้อมูล เชิงลึกในสายการผลิต กลั่นกรอง ความถูกต้อง ในการออก C/O .

57 การขอฟอร์มแทนฉบับเดิมที่สูญหาย
จดหมายชี้แจงการขอฟอร์มแทนฉบับเดิมที่สูญหาย ใบแจ้งความ กรณีหายในประเทศ จดหมายหรือหลักฐานจากลูกค้าต่างประเทศ แจ้งการสูญหาย กรณีหายต่างประเทศ สำเนาฟอร์มฉบับที่สูญหาย สำเนาใบกำกับสินค้า สำเนาใบตราส่งสินค้า

58 ระยะเวลาการเก็บรักษาสำเนาเอกสารฟอร์มต่าง ๆ
ระยะเวลา (ปี) FORM 2 AI FTA – INDIA 3 A AANZ AK AJ C/O D E GSTP 5 FTA – AUS JTEPA THAI - PERU

59 แนวทางลดการถูกตรวจสอบ
1 ทำความเข้าใจกฎถิ่นกำเนิดสินค้า 2 ให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่เจ้าหน้าที่ 3 ตรวจสอบพิกัดสินค้าให้ถูกต้อง 4 ไม่เพิ่มข้อความในแบบฟอร์มภายหลัง 5 ตรวจสอบเอกสารก่อนนำไปใช้

60 Thank You! HOTLINE 1385


ดาวน์โหลด ppt ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร FTA

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google