รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ชื่อเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 5 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2546 โดยใช้แบบประเมินตนเอง(SDQ)
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
ระบบการบริหารการตลาด
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
ทีมผู้ป่วยนอก 11 ตุลาคม PSO ตุลาคม KMKPI บริบ ท Tac tic ยุทธศา สตร์ PSO
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา

ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
สรุปผลการสำรวจแบบสอบถาม ความพึงพอใจต่อกระบวนการติดตามและ ประเมินผลของการถ่ายทอด ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับ สป. ทส. ลงสู่ ระดับสำนัก / ศูนย์ / กลุ่ม (IPA)
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของช่างเทคนิคตามความต้องการ ของสถานประกอบการ กรณีศึกษา เขตนิคมอมตะนคร นำเสนอโดย วัชรา ธารวิทยากุล.
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
สรุปผลการ ดำเนินงาน 5 สิงหาคม ผลคะแนนความพึงพอใจ ต่อกิจกรรม มีความพึงพอใจ 126 คน คิดเป็น ร้อยละ มีความไม่พึงพอใจ 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 3.82.
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
CLASSROOM ACTION RESEARCH
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์หลัก 1. เพื่อสำรวจและประเมินผลความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อการให้บริการของ อย. 2. เพื่อนำผลการประเมินไปใช้ปรับปรุงการบริหารจัดการด้านการบริการให้มีประสิทธิภาพและสามารถให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์เฉพาะ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความพึงพอใจของผู้รับบริการ การศึกษาความพึงพอใจ

การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 วิธีการวิจัย ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการของ อย. จำนวน 1,200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล แบบสอบถาม(Questionnaire) ประเภทประมาณค่า (Rating Scale) ประกอบด้วย ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการบริการของ อย. ใน 2 ด้าน คือ 1. ความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับ 1.1 ด้านกระบวนการ/ขั้นตอน 1.2 ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 1.3 ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 2. ความพึงพอใจต่อความโปร่งใส ยุติธรรมของการให้บริการ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอื่นๆ การศึกษาความพึงพอใจ

การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 วิธีการวิจัย(ต่อ) การสร้างและการทดสอบเครื่องมือ สร้างข้อคำถามตามกรอบแนวคิดในการศึกษา ทดทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม กับผู้ที่มาติดต่อ อย. จำนวน 30 คน การทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ของ Cronbach พบว่ามีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .9561 การศึกษาความพึงพอใจ

การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 วิธีการวิจัย(ต่อ) การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา โดยโปรแกรม SPSS และนำเสนอ ผลการวิเคราะห์ในรูปตารางประกอบความเรียง ซึ่งใช้สถิติดังนี้ 1. ค่าร้อยละ (Percentage) 2. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measures of Central Tendency) โดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) รายข้อและรายด้าน 3. การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion) 4. เปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่.05 โดย 4.1 คำนวณค่า t-test แบบ Independent ในกรณีที่จำแนกตัวแปรออกเป็น 2 ระดับ 4.2 คำนวณค่า F-test โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Analysis of Variance หรือ Anova) ในกรณีที่จำแนกตัวแปรอิสระออกเป็น3 ระดับขึ้นไป การศึกษาความพึงพอใจ

ผลการวิจัย รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ผลการวิจัย ผลการศึกษาแบ่งออกเป็น 4 ส่วนดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจของผู้มารับบริการ ส่วนที่ 3 ความพึงพอใจต่อความโปร่งใส ยุติธรรม ของการให้บริการ ส่วนที่ 4 ความประทับใจ ความไม่พึงพอใจ และข้อเสนอแนะอื่นๆ การศึกษาความพึงพอใจ

วัตถุประสงค์ในการติดต่อ รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ผลการวิจัย(ต่อ) ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป อายุ ระดับการศึกษา วัตถุประสงค์ในการติดต่อ ประเภทผู้ติดต่อ การศึกษาความพึงพอใจ

ความพึงพอใจต่อความโปร่งใส ยุติธรรมของการให้บริการ ร้อยละความพึงพอใจต่อความโปร่งใส ยุติธรรมของการให้บริการ กลุ่มควบคุมเครื่อง สำอาง กลุ่มควบคุมวัตถุอันตราย กองควบคุม ยา กองควบคุมอาหาร กองควบคุมวัตถุเสพติด ห้องยา กองควบคุมวัตถุเสพติด กองควบคุมเครื่องมือแพทย์ กองงานด่านอาหารและยา รวม กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ 71.2 69.8 77.4 75.4 71.8 69.2 80.2 74.05 เปิดเผยหลักเกณฑ์ วิธีการของการให้บริการ 75.6 78.8 77.8 76 73.4 79.2 77.6 76.98 ปฏิบัติงานอย่างตรงไปตรงมา 83.8 80.6 82.4 82 85.2 74.8 82.8 85.4 82.13 ปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใส 87.2 83.2 84.4 84.2 86.6 84.6 88.2 85.45 ปฏิบัติงานด้วยความเป็นธรรม 86.4 81.6 83.4 83 82.2 84 ได้รับคำชี้แจงหรือการแก้ไขปัญหา 78.4 79.6 80   79.57 ค่าเฉลี่ยรวม 81.2 80.45

ความประทับใจที่ควรรักษาไว้ ความถี่ของความประทับใจที่ควรรักษาไว้ กลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง กลุ่มควบคุมวัตถุอันตราย กองควบคุม ยา กองควบคุมอาหาร กองควบคุมวัตถุเสพติด ห้องยา กองควบคุมวัตถุเสพติด กองควบคุมเครื่องมือแพทย์ กองงานด่านอาหารและยา รวม เจ้าหน้าที่ยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นกันเอง สุภาพ ใจดี 26 15 24 13 1   34 10 123 บริการรวดเร็ว 5 8 2 81 การให้คำแนะนำ คำแนะนำ 6 7 39 ความสะอาดของสถานที่ 4 30 เจ้าหน้าที่บริการด้วยความซื่อสัตย์/ โปร่งใส 3 18 28 การประสานศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ 25 การให้ข้อมูล ข่าวสาร(ครบถ้วน) 16 ขั้นตอนการดำเนินงานชัดเจน/ ไม่ซ้ำซ้อน 11 เจ้าหน้าที่เอาใจใส่ เต็มใจให้บริการ ระบบคิวการให้บริการ

ความถี่ของความไม่พึงพอใจที่ควรแก้ไข กลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง กลุ่มควบคุมวัตถุอันตราย กองควบคุม ยา กองควบคุมอาหาร กองควบคุมวัตถุเสพติด ห้องยา กองควบคุมวัตถุเสพติด กองควบคุมเครื่องมือแพทย์ กองงานด่านอาหารและยา รวม ระบบงาน 14 28 7 21   3 11 2 86 เจ้าหน้าที่น้อยเกินไป 16 10 37 ที่จอดรถ 6 8 9 5 1 30 ห้องน้ำ 12 4 ทำงานตรงเวลาและเพิ่มระยะเวลาในการให้บริการ 13 22 เพิ่มช่องทางในการติดต่อสื่อสาร 18 การติดต่อทางโทรศัพท์ พฤติกรรมการให้บริการ การให้คำแนะนำ พัฒนาบริการเบ็ดเสร็จ

ข้อเสนอแนะอื่นๆ ข้อเสนอแนะอื่นๆ ความถี่ของข้อเสนอแนะอื่นๆ กลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง กลุ่มควบคุมวัตถุอันตราย กองควบคุม ยา กองควบคุมอาหาร กองควบคุมวัตถุเสพติด ห้องยา กองควบคุมวัตถุเสพติด กองควบคุมเครื่องมือแพทย์ กองงานด่านอาหารและยา รวม เพิ่มสื่อประชาสัมพันธ์ให้มากยิ่งขึ้น 5 6 15 8 1 46 นำเครื่องมือที่ทันสมัยมาให้บริการ 10 4 3 12 35 จัดเจ้าหน้าที่เพิ่มในช่วงที่มีผู้รับบริการมาก 18 จัดที่จอดรถสำหรับผู้ใช้บริการ 13 มีบริการสายตรงติดต่อเจ้าหน้าที่ เพื่อติดต่อสอบถาม 2 9 เปิดให้บริการให้เร็วขึ้น แจ้งผลการตรวจสอบให้เร็วขึ้น 11 มีระบบจองคิวให้บริการและควบคุมระยะเวลารอ 7 มีจุดบริการเบ็ดเสร็จนอกสถานที่ เช่นในห้างสรรสินค้า

การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ข้อเสนอแนะ ด้านเจ้าหน้าที่ 1. กำหนดให้การบริการเป็นค่านิยม และสมรถนะของบุคลากรที่ให้บริการ 2. เพิ่มจำนวนเจ้าหน้าที่ ในช่วงที่มีผู้รับบริการมาก ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 1. เพิ่มที่จอดรถ 2. ปรับปรุงความสะอาดและเพิ่มห้องน้ำ 3. เพิ่มสื่อประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น 4. นำเครื่องมือที่ทันสมัยมาใช้ในการให้บริการ 5. การจัดหาสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ด้านกระบวนการ/ ขั้นตอน 1. ปรับปรุงระบบงาน 2. ขยายระยะเวลาในการให้บริการ เป็น 7.30 – 17.00 น. รวมถึงเพิ่มเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการในช่วงเช้าและพักเทียง 3. พัฒนาระบบจองคิวและควบคุมระยะเวลาในการให้บริการ 4. เพิ่มช่องทางในการให้บริการ 5. การติดต่อทางโทรศัพท์ ควรปรับปรุงขยายคู่สายให้โทรติดง่าย มีเจ้าหน้าที่รับสาย โดยเจ้าหน้าที่ต้องสามารถตอบคำถามผู้รับบริการได้ โดยเฉพาะถ้าผู้รับบริการสอบถามถึงความก้าวหน้าในการดำเนินการ 6. ขยายศูนย์บริการเบ็ดเสร็จไปยังศูนย์การค้าต่างๆ

จำนวนและร้อยละของข้อมูลทั่วไป จำแนกตามอายุ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป จำนวนและร้อยละของข้อมูลทั่วไป จำแนกตามอายุ อายุ จำนวน ร้อยละ 15-19 ปี 1 0.1 20-29 ปี 392 32.7 30-39 ปี 473 39.4 40-49 ปี 246 20.5 50-59 ปี 80 6.7 60 ปี ขึ้นไป 8 0.7 จำนวนและร้อยละของข้อมูลทั่วไป จำแนกตามระดับการศึกษา ระดับการศึกษา จำนวน ร้อยละ ประถมศึกษา 9 0.8 มัธยมศึกษาตอนต้น 28 2.3 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ ปวช. 105 8.8 ปวส./ อนุปริญญา 74 6.2 ปริญญาตรี 686 57.2 ปริญญาโทขึ้นไป 298 24.8 กลับหน้าข้อมูลทั่วไป

จำนวนและร้อยละของข้อมูลทั่วไป จำแนกตามประเภทผู้ติดต่อ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป จำนวนและร้อยละของข้อมูลทั่วไป จำแนกตามประเภทผู้ติดต่อ ตัวแทนของหน่วยงาน จำนวน ร้อยละ ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินกิจการ 269 22.4 ผู้แทนบริษัท/มีหน้าที่โดยตรง 738 61.5 ตัวแทนภายนอก/เป็นผู้ทำการแทน 171 14.3 อื่นๆ (ส่วนตัว) 22 1.8 จำนวนและร้อยละของข้อมูลทั่วไป จำแนกตามวัตถุประสงค์ในการติดต่อ วัตถุประสงค์ในการติดต่อ จำนวน ร้อยละ ขอข้อมูล 108 9.0 ขอคำปรึกษา 271 22.6 ขออนุมัติ/อนุญาต 788 65.7 อื่นๆ 33 2.8 กลับหน้าข้อมูลทั่วไป

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ