กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
Research Mapping.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ รากฐาน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
A man’s dreams are an index to his greatness การสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การพัฒนาเด็กจังหวัดอุดรธานี มีโภชนาการสมวัย.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ระหว่างปี 2553- 2556 กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ชุมชนมีและใช้มาตรการ ทางสังคมเพื่อเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ชุมชนสามารถเตรียมพร้อมและมีส่วนร่วมรับ ภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสุข ชุมชนมีการวิเคราะห์และเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขได้ด้วยตนเอง ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ประชาชนสามารถดูแล สุขภาพได้ด้วยตนเอง ชุมชนมีโครงการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ที่พัฒนาขึ้นโดยชุมชน ชุมชนสามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาดูแลสุขภาพ ประชาชน ภาคเอกชนมีบทบาทสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย อปท. มีบทบาทสนับสนุนทรัพยากรและมีส่วนร่วมผลักดันการดำเนินโครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินของชุมชน หน่วยงานภาครัฐมีบทบาทสนับสนุนข้อมูลแนวทาง มาตรการ และมาตรฐานวิชาการเรื่องโรคและการเฝ้าระวังตอบโต้ภาวะฉุกเฉินแก่เครือข่าย ผู้นำชุมชนสามารถเป็นผู้บัญชาการสถานการณ์/ อสม. สามารถเป็นแกนนำในการ เฝ้าระวังและเตือนภัยในชุมชน ภาคี ระบบการสื่อสารทุกระดับที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันเวลา ระบบการติดตาม และประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ บริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ที่ครอบคลุม ทุกระดับ จัดการความรู้และนวัตกรรมของเครือข่ายที่เชื่อมโยง มีประสิทธิภาพ กระบวนการ ข้อมูลข่าวกรองและข้อมูลทางวิชาการที่ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข บุคลากรและแกนนำเครือข่ายมีสมรรถนะในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข องค์กรและทีมงานเครือข่ายมีคุณลักษณะที่เอื้อ ต่อความร่วมมือและทำงานเป็นทีม พื้นฐาน

ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ปี 2553-2554 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ชุมชนมีโครงการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน สาธารณสุขที่พัฒนาขึ้นโดยชุมชน ชุมชนมีการวิเคราะห์และเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขได้ด้วยตนเอง ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สอดคล้องกับสถานการณ์เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) อปท. มีส่วนร่วมสนับสนุนทรัพยากรในการดำเนินโครงการต่าง ๆ ของชุมชน อสม. และมิสเตอร์เตือนภัยเป็นแกนนำในการเฝ้าระวังและเตือนภัยในชุมชน หน่วยงานภาครัฐสนับสนุนข้อมูล แนวทาง มาตรการและมาตรฐานวิชาการเรื่องโรคและการเฝ้าระวังตอบโต้ภาวะฉุกเฉินแก่เครือข่าย ผู้นำชุมชนมีบทบาทในการเป็นผู้บัญชาการสถานการณ์เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ภาคเอกชนให้การสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) มีการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข มีระบบการสื่อสารที่ครอบคลุมในระดับพื้นที่อย่างถูกต้องและทันเวลา มีการจัดการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายต่าง ๆ ที่มีส่วนร่วมในการจัดทำโครงการ มีการจัดการความรู้และนวัตกรรมของเครือข่ายที่เชื่อมโยงมีประสิทธิภาพ ระดับพื้นฐานองค์กร (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) บุคลากรและแกนนำเครือข่ายมีสมรรถนะในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข องค์กรและทีมงานเครือข่ายมีคุณลักษณะที่เอื้อต่อความร่วมมือและทำงานเป็นทีม มีข้อมูลข่าวกรองและข้อมูลทางวิชาการที่ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ภ

แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข ภายในปี พ.ศ. 2554 (ระยะเวลา 2 ปี) กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ชุมชนจัดทำโครงการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขได้ด้วยตนเอง ระดับประชาชน (Valuation) ชุมชนมีและใช้มาตรการ ทางสังคมเพื่อเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ชุมชนสามารถวิเคราะห์และเฝ้าระวังความเสี่ยงทางด้านสุขภาพในภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ผู้นำชุมชน/ อสม./ภาคเอกชน สามารถเป็น ผู้บัญชาการสถานการณ์หรือสนับสนุน วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย อปท. มีบทบาทสนับสนุนทรัพยากรและมีส่วนร่วมผลักดันการดำเนินโครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินของชุมชน ระดับภาคี (Stakeholder) หน่วยงานภาครัฐมีบทบาทสนับสนุนข้อมูล แนวทาง มาตรการและมาตรฐานวิชาการเรื่องโรคการเฝ้าระวัง ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินแก่เครือข่าย การจัดการความรู้และนวัตกรรมของ เครือข่ายที่เชื่อมโยงมีประสิทธิภาพ ระบบการสื่อสารที่ครอบคลุมในระดับพื้นที่อย่างถูกต้องและทันเวลา ระดับกระบวนการ (Management) ระบบบริหารจัดการทรัพยากร/ระบบเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ และมีการติดตามประเมินผล ข้อมูลข่าวกรองและข้อมูลทางวิชาการที่ถูกต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบันเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ด้านสาธารณสุข องค์กรและทีมงานเครือข่าย มีคุณลักษณะที่เอื้อ ต่อความร่วมมือและทำงานเป็นทีม ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) บุคลากรและแกนนำเครือข่ายมีสมรรถนะในการตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข