ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ประชาชน ภาคี กระบวนการ รากฐาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)  ประชาชนมีความรู้ เจตคติ ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก  ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กที่เป็นปัจจุบันและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ชุมชนสามารถเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก  ชุมชนมีการบริหารจัดการโครงการด้านการป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กได้เพื่อประโยชน์ของชุมชน  ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก  ชุมชนมีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้ในการดูแลสุขภาพ โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย)  อปท.มีบทบาทเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือและขับเคลื่อนการสร้างมาตรการทางสังคม รวมถึงการสนับสนุนทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กอย่างต่อเนื่อง  อสม. แกนนำสุขภาพ กองทุนต่าง ๆ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กในชุมชน  หน่วยงานภาครัฐมีส่วนร่วมในการพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน)  มีระบบการสื่อสารสาธารณะที่มีคุณภาพ  มีระบบติดตามการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ  มีการบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ  มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกระดับ  การจัดการความรู้และสร้างนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ ระดับพื้นฐานองค์กร (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา)  ระบบข้อมูลมีคุณภาพ  บุคลากร ทีมงานเครือข่ายมีสมรรถนะที่เหมาะสม  องค์กรมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน ภ

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก (ARIC) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านโรค ARICที่เป็นปัจจุบันและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ชุมชนมีการบริหารจัดการโครงการด้านการป้องกัน ควบคุมโรค ARICได้เพื่อประโยชน์ของชุมชน ชุมชนสามารถ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันควบคุมโรคติดต่อให้ถูกต้อง เหมาะสม ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ประชาชนมีความรู้เจตคติในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองให้ปลอดภัย จากโรค ARIC ชุมชนมีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพโรค ARIC ประชาชน อปท.มีบทบาทเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือและขับเคลื่อนการสร้างมาตรการทางสังคม รวมถึงการสนับสนุนทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคARIC อย่างต่อเนื่อง อสม. แกนนำสุขภาพ กองทุนต่าง ๆ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กในชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภาคี ระบบการสื่อสารสาธารณะที่มีคุณภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย การบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกระดับ การจัดการความรู้และสร้างนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ ระบบติดตามการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบข้อมูลมีคุณภาพ บุคลากร ทีมงานเครือข่ายมีสมรรถนะที่เหมาะสม องค์กรมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน พื้นฐาน 2

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ปี 2553 - 2556 ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กที่เป็นปัจจุบันและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์  พัฒนาการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งข้อมูลโรค ARIC  สนับสนุนแหล่งข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน  ส่งเสริมให้ประชาชนใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสาร ชุมชนมีการบริหารจัดการโครงการด้านการป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กได้ เพื่อประโยชน์ของชุมชน  สนับสนุนการสร้าง ชุมชนต้นแบบในการ จัดทำแผนงาน/โครงการ เพื่อการแก้ไขปัญหา สุขภาพในชุมชน ส่งเสริมการแสดง บทบาทในการป้องกัน ควบคุมโรค ARIC ชุมชนสามารถ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก  ส่งเสริม และสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันควบคุมโรคติดต่อให้ถูกต้อง เหมาะสม  เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม  ส่งเสริมทักษะในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง  สนับสนุนประชาชนให้แสดงบทบาทในการป้องกันควบคุมโรคARICในชุมชน ชุมชนมีและใช้ มาตรการทางสังคม เพื่อการป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ส่งเสริมการสร้าง และสนับสนุนการใช้ เพื่อการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ประชาชนมีความรู้ เจตคติ ในการดูแลสุขภาพตนเอง ให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก  พัฒนากระบวนการ ส่งเสริมการเรียนรู้ของ ประชาชน สร้างจิตสำนึกที่ดีใน การดูแลสุขภาพตนเอง ชุมชนมีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพโรคARIC  แสวงหาภูมิปัญญาท้องถิ่นและพัฒนาเป็นองค์ความรู้ เพื่อนำมาใช้ในการป้องควบคุมโรค ARIC  สนับสนุนการใช้ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน  สนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนภูมิปัญญาท้องถิ่นระหว่างชุมชน ประชาชน อปท.มีบทบาทเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือและขับเคลื่อนการสร้างมาตรการทางสังคม รวมถึงการสนับสนุนทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนให้อปท.จัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด้ก สร้างเครือข่ายความร่วมมือการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด้กในชุมชน เสริมสร้างแรงจูงใจในการพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก หน่วยงานภาครัฐมีส่วนร่วมในการพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเฃื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก สนับสนุนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กระหว่างหน่วยงานเครือข่ายภาครัฐและเอกชน สร้างและพัฒนาคู่มือ/แนวทางงานเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กร่วมกับเครือข่าย อสม. แกนนำสุขภาพ กองทุนต่าง ๆ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กในชุมชน  พัฒนาศักยภาพของ เครือข่ายแกนนำสุขภาพของชุมชนให้มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภาคี ระบบการสื่อสารสาธารณะที่มีคุณภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย  พัฒนาระบบ/ช่องทางการสื่อสารสาธารณะเกี่ยวกับโรคARICให้เหมาะสมและครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย  สนับสนุนการเผยแพร่และใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศด้านโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ระบบติดตามการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ  พัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลกระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ  พัฒนากระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกระดับ  ผลักดันการสร้างและสนับสนุนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก  ส่งเสริมการถ่ายทอดยุทธศาสตร์โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก สู่การปฏิบัติ การจัดการความรู้และสร้างนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ  ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ในการจัดการความรู้โรค ARIC  สนับสนุนการสร้างนวัตกรรมในการป้องกัน ควบคุมโรค ARIC  สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรค ARICอย่างต่อเนื่อง  พัฒนาเกณฑ์ มาตรฐาน แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค ARIC กระบวนการ บุคลากร ทีมงานเครือข่ายมีสมรรถนะที่เหมาะสม  พัฒนาการเรียนรู้ของบุคลากรและทีมงานอย่างต่อเนื่อง  สร้างเครือข่ายวิชาการโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ระบบข้อมูลมีคุณภาพ  พัฒนาระบบการประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง พัฒนาการวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน พัฒนาการจัดการสารสนเทศและความรู้ให้มีคุณภาพ องค์กรมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน พัฒนาระบบงาน (Work System) พัฒนาระบบสื่อสารภายในองค์กรให้มีประสิทธิผล พัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร สร้างบรรยากาศการทำงานเป็นทีมและจริยธรรมการทำงานร่วมกัน พื้นฐาน 3

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) ของ กลุ่มโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กให้ถูกต้อง เหมาะสม ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ชุมชนมีการบริหารจัดการโครงการด้านการป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กได้ เพื่อประโยชน์ของชุมชน ประชาชน ชุมชนสามารถเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก อสม. แกนนำสุขภาพ กองทุนต่าง ๆ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กในชุมชน หน่วยงานภาครัฐมีส่วนร่วมในการพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก อปท.มีบทบาทเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือและขับเคลื่อนการสร้างมาตรการทางสังคม รวมถึงการสนับสนุนทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กอย่างต่อเนื่อง ภาคี ระบบการสื่อสารสาธารณะที่มีคุณภาพครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย การจัดการความรู้และสร้างนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่าย ที่มี ประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบข้อมูลมีคุณภาพ องค์กรมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน พื้นฐาน บุคลากร ทีมงานเครือข่ายมีสมรรถนะที่เหมาะสม