ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชนมีความรู้ เจตคติ ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองให้ ปลอดภัยจากโรคติดต่อทั่วไป ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทั่วไปให้ถูกต้อง เหมาะสม ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านโรคติดต่อทั่วไปที่เป็น ปัจจุบันและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทั่วไปและ ภัยสุขภาพ รวมทั้งมีส่วนร่วมในการเตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสุข ชุมชนมีการบริหารจัดการโครงการด้านการป้องกัน ควบคุม โรคติดต่อทั่วไปได้เพื่อประโยชน์ของชุมชน ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการป้องกันควบคุม โรคติดต่อทั่วไป ชุมชนมีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพ ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) อปท.มีบทบาทเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือและขับเคลื่อนการสร้างมาตรการทางสังคม รวมถึงการสนับสนุนทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไปอย่างต่อเนื่อง อสม. แกนนำสุขภาพ กองทุนต่าง ๆ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อทั่วไปในชุมชน หน่วยงานภาครัฐมีส่วนร่วมในการพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไป องค์กรเอกชนทั้งในและต่างประเทศมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) มีระบบการสื่อสารสาธารณะที่มีคุณภาพ มีระบบติดตามการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ มีการบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกระดับ การจัดการความรู้และสร้างนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ ระดับพื้นฐานองค์กร (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) ระบบข้อมูลมีคุณภาพ บุคลากร แกนนำเครือข่ายมีสมรรถนะตามที่องค์กรกำหนด องค์กรมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน ภ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านโรคติดต่อทั่วไปที่เป็นปัจจุบันและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ชุมชนมีการบริหารจัดการโครงการด้านการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทั่วไปได้เพื่อประโยชน์ของชุมชน ชุมชนมีระบบ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไปและภัยสุขภาพ รวมทั้งมีส่วนร่วม ในการเตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไปให้ถูกต้อง เหมาะสม ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ประชาชนมีความรู้เจตคติในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองให้ปลอดภัย จากโรคติดต่อทั่วไป ชุมชนมีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพ ประชาชน อปท.มีบทบาทเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือและขับเคลื่อนการสร้างมาตรการทางสังคม รวมถึงการสนับสนุนทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไปอย่างต่อเนื่อง หน่วยงานภาครัฐมีส่วนร่วมในการพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไป องค์กรเอกชนทั้งในและต่างประเทศมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไป อสม. แกนนำสุขภาพ กองทุนต่าง ๆ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อทั่วไปในชุมชน ภาคี ระบบการสื่อสารสาธารณะที่มีคุณภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย การบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกระดับ การจัดการความรู้และสร้างนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ ระบบติดตามการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบข้อมูลมีคุณภาพ บุคลากร แกนนำเครือข่ายมีสมรรถนะตามที่องค์กรกำหนด องค์กรมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน พื้นฐาน 2
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป สำนักโรคติดต่อทั่วไป ปี 2553 - 2556 ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านโรคติดต่อทั่วไปที่เป็นปัจจุบันและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ สร้างความเข้าใจของประชาชนในการเข้าถึงแหล่งข้อมูลด้านโรคติดต่อ สนับสนุนแหล่งข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ส่งเสริมให้ประชาชนใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารด้านโรคติดต่อ ชุมชนมีการบริหารจัดการโครงการด้านการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทั่วไปได้เพื่อประโยชน์ของชุมชน สนับสนุนการสร้าง ชุมชนต้นแบบในการ จัดทำแผนงาน/โครงการ เพื่อการแก้ไขปัญหา สุขภาพในชุมชน ส่งเสริมการแสดง บทบาทในการป้องกัน ควบคุมโรค ชุมชนมีระบบ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไปและภัยสุขภาพ รวมทั้งมีส่วนร่วม ในการเตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข สนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการเตรียมพร้อมและการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไปให้ถูกต้อง เหมาะสม เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม ส่งเสริมทักษะในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง สนับสนุนประชาชนให้แสดงบทบาทในการป้องกันควบคุมโรคในชุมชน ชุมชนมีและใช้ มาตรการทางสังคม เพื่อการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ส่งเสริมการสร้าง และสนับสนุนการใช้ เพื่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ประชาชนมีความรู้ เจตคติ ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ให้ปลอดภัย จากโรคติดต่อทั่วไป พัฒนากระบวนการ ส่งเสริมการเรียนรู้ของ ประชาชน สร้างจิตสำนึกที่ดีใน การดูแลสุขภาพตนเอง ชุมชนมีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพ แสวงหาภูมิปัญญาท้องถิ่นและพัฒนาเป็นองค์ความรู้ เพื่อนำมาใช้ในการป้องควบคุมโรคติดต่อ สนับสนุนการใช้ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน สนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนภูมิปัญญาท้องถิ่นระหว่างชุมชน ประชาชน อปท.มีบทบาทเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือและขับเคลื่อนการสร้างมาตรการทางสังคม รวมถึงการสนับสนุนทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไปอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนให้อปท.จัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ สร้างเครือข่ายความร่วมมือการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคติดต่อในชุมชน เสริมสร้างแรงจูงใจในการพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคุมโรคติดต่อ หน่วยงานภาครัฐมีส่วนร่วมในการพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไป สนับสนุนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อระหว่างหน่วยงานเครือข่ายภาครัฐและเอกชน สร้างและพัฒนาคู่มือ/แนวทางงานเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่อร่วมกับเครือข่าย องค์กรเอกชนทั้งในและต่างประเทศมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไป พัฒนา และสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อกับองค์กรเอกชนทั้งในและต่างประเทศ อสม. แกนนำสุขภาพ กองทุนต่าง ๆ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อทั่วไปในชุมชน พัฒนาศักยภาพของ เครือข่ายแกนนำสุขภาพของชุมชนให้มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ภาคี ระบบการสื่อสารสาธารณะที่มีคุณภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาระบบการสื่อสารสาธารณะเกี่ยวกับโรคติดต่อให้เหมาะสมและครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สนับสนุนการเผยแพร่และใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศด้านโรคติดต่อ ระบบติดตามการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลกระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ พัฒนากระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกระดับ ผลักดันการสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์โรคติดต่อ สนับสนุนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์โรคติดต่อ ส่งเสริมการถ่ายทอดยุทธศาสตร์โรคติดต่อสู่การปฏิบัติ การจัดการความรู้และสร้างนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ในการจัดการความรู้โรคติดต่อ สนับสนุนการสร้างนวัตกรรมในการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ พัฒนาเกณฑ์ มาตรฐาน คู่มือแนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคติดต่อ กระบวนการ บุคลากร แกนนำเครือข่ายมีสมรรถนะตามที่องค์กรกำหนด พัฒนาการเรียนรู้ของบุคลากรและทีมงาน สร้างเครือข่ายวิชาการ ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พัฒนาการวัดผลการดำเนินงาน พัฒนาการวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน พัฒนาการจัดการสารสนเทศและความรู้ให้มีคุณภาพ พัฒนาการจัดระบบอุปกรณ์ (Hardware, Software) ที่เกี่ยวกับสารสนเทศให้มีคุณภาพ องค์กรมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน พัฒนาระบบสื่อสารภายในองค์กรให้มีประสิทธิผล พัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร สร้างบรรยากาศการทำงานเป็นทีมและจริยธรรมการทำงานร่วมกัน พื้นฐาน 3
สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) ของสำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไปให้ถูกต้อง เหมาะสม ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ชุมชนมีการบริหารจัดการโครงการด้านการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทั่วไปได้เพื่อประโยชน์ของชุมชน ประชาชน ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไปและภัยสุขภาพ รวมทั้งมีส่วนร่วมในการเตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข อปท.มีบทบาทเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือและขับเคลื่อนการสร้างมาตรการทางสังคม รวมถึงการสนับสนุนทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไปอย่างต่อเนื่อง องค์กรเอกชนทั้งในและต่างประเทศมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไป อสม. แกนนำสุขภาพ กองทุนต่าง ๆ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อทั่วไปในชุมชน ภาคี หน่วยงานภาครัฐมีส่วนร่วมในการพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ระบบการสื่อสารสาธารณะที่มีคุณภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย การจัดการความรู้และสร้างนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ การบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่าย / ระบบติดตามการประเมินผล ที่มีประสิทธิภาพ ระบบข้อมูลมีคุณภาพ องค์กรมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน พื้นฐาน บุคลากร ทีมงานเครือข่ายมีสมรรถนะตามที่องค์กรกำหนด