ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
สวัสดีครับ.
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
ทิศทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การดำเนินงานด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กำหนดเมื่อ 20 เมษายน 2553 ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ชุมชนสามารถจัดทำแผนงานโครงการด้าน Env.Occ. ชุมชนสามารถกำหนดและใช้มาตรการทางสังคมในการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ประชาชน ชุมชนสามารถเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ โดยชุมชน อสม./แกนนำชุมชน/กองทุนต่าง ๆ และประชาสังคม มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนสนับสนุนการดำเนินงาน อปท.มีนโยบายด้าน Env-Occ และมีการขับเคลื่อนในการเฝ้าระวังป้องกันการแก้ไขปัญหา องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร ภาคี หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีส่วนร่วม พัฒนา สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน และบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ภาคีเครือข่ายมีการประสานงานและร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบจัดการความรู้/ข้อมูลข่าวสาร/ระบบสารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบบริหารจัดการ /ทรัพยากร องค์ความรู้/ เทคโนโลยี/กำกับติดตาม ที่ดีมีประสิทธิภาพ องค์กรมีวัฒนธรรมและโครงสร้างที่เอื้อต่อการทำงาน ระบบข้อมูลด้าน Env.Occ มีประสิทธิภาพ พื้นฐาน บุคลากรและแกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีสมรรถนะตามที่องค์กรกำหนด 1 1

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ปี 2554 - 2558 ประชาชน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ชุมชนสามารถกำหนดและใช้มาตรการทางสังคมในการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมการจัดเวทีสมัชชาสุขภาพ สร้างมาตรการเพื่อควบคุมพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในชุมชน สนับสนุนการใช้มาตรการเพื่อการสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในชุมชน ชุมชนสามารถเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ โดยชุมชน ส่งเสริมให้ชุมชนสามารถเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยชุมชน สนับสนุนให้มีข้อมูลโรคและภัยของชุมชน สนับสนุนให้มีการสื่อสารด้านโรคและภัยสุขภาพให้กับชุมชน ชุมชนสามารถจัดทำแผนงานโครงการด้าน Env-Occ พัฒนาศักยภาพแกนนำในการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ในงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนงาน /โครงการของชุมชน ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำแผนงาน/โครงการระหว่างชุมชน ประชาชน อปท.มีนโยบายด้าน Env-Occ และมีการขับเคลื่อนในการเฝ้าระวังป้องกันการแก้ไขปัญหา ส่งเสริมการจัดทำแผนงาน โครงการร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายองค์กรชุมชน สร้างเครือข่ายความร่วมมือการประสานงานด้านวิชาการ และการจัดการทรัพยากร พัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรและกองทุนสุขภาพตำบลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนา กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรการทางสังคมในชุมชน หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีส่วนร่วม พัฒนา สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน และบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม สนับสนุนการจัดทำแผนงาน หรือข้อตกลงระหว่างองค์กรเครือข่ายสุขภาพทั้งในและระหว่างประเทศ ส่งเสริมและสร้างความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพทุกระดับ พัฒนา กฏ ระเบียบข้อบังคับ มาตรการแนวทาง ที่เอื้อต่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ อสม./แกนนำชุมชน/กองทุนต่าง ๆ และประชาสังคม มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนสนับสนุนการดำเนินงาน พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ สร้างแรงจูงใจการมีส่วนร่วมสนับสนุนงานชุมชน ส่งเสริมการสร้างความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการจัดการทรัพยากร ส่งเสริมความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างองค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและ นอกประเทศ สนับสนุนวิชาการเทคโนโลยี สารสนเทศ ในงานเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ภาคี ระบบบริหารจัดการ/ทรัพยากร องค์ความรู้/ เทคโนโลยี/กำกับติดตาม ที่ดีมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาองค์ความรู้เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม พัฒนากลไกการจัดการทรัพยากร และเทคโนโลยีสารสนเทศ การประเมินและการจัดการความเสี่ยงทางสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม ภาคีเครือข่ายมีการประสานงานและร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างและพัฒนาความสัมพันธ์กับเครือข่ายสุขภาพทุกระดับ สร้าง กลไกในการบูรณาการแผนการเฝ้าระวัง พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ ระบบจัดการความรู้/ข้อมูลข่าวสาร/ระบบสารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้ พัฒนาการสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย มีความหลากหลายและมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบข้อมูลด้าน Env.Occ มีประสิทธิภาพ พัฒนาบุคลากรสามารถจัดการฐานข้อมูลด้าน Env.Occ พัฒนาฐานข้อมูลให้เชื่อมโยงตั้งแต่ระดับชุมชนถึงส่วนกลาง สร้างและสนับสนุนศูนย์ข้อมูลสารสนเทศด้าน Env.Occ ทุกระดับ บุคลากรและแกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีสมรรถนะตามที่องค์กรกำหนด พัฒนาสมรรถนะบุคลากรในการดำเนินงาน Env.Occ สร้างเสริมความรู้และประสบการณ์และฝึกทักษะด้าน Env.Occ และการจัดการเครือข่าย สนับสนุนให้บุคลากรและแกนนำได้แสดงศักยภาพผลการดำเนินงาน องค์กรมีวัฒนธรรมและโครงสร้างที่เอื้อต่อการทำงาน พัฒนาระบบโครงสร้างขององค์กรให้มีศูนย์ประสานงานเครือข่าย พัฒนาคุณภาพองค์กรตามมาตรฐานPMQA องค์กรผาสุก Happy work place พื้นฐาน 2 2

ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (Mini-SLM) งานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กำหนดเมื่อ 20 เมษายน 2553 ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ชุมชนสามารถกำหนดและใช้มาตรการทางสังคมในการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ชุมชนสามารถจัดทำแผนงานโครงการด้าน Env.Occ. อบรมให้ความรู้แกนนำชุมชนเรื่องการทำแผนและใช้มาตรการทางสังคมในการแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง** ชุมชนสามารถเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ โดยชุมชน การพัฒนาศักยภาพในการทำแผนงานโครงการของชุมชน** ประชาชน สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ** อสม./แกนนำชุมชน/กองทุนต่าง ๆ และประชาสังคม มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนสนับสนุนการดำเนินงาน อปท.มีนโยบายด้าน Env-Occ และมีการขับเคลื่อนในการเฝ้าระวังป้องกันการแก้ไขปัญหา องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร จัดทำข้อตกลงร่วมกัน (MOU)** ให้แกนนำจัดทำแผนงานโครงการอย่างง่ายเพื่อพัฒนาชุมชน** จัดให้องค์กรเอกชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์** ภาคี หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีส่วนร่วม พัฒนา สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน และบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม จัดทำแผนกลยุทธ์ร่วมกันระหว่างหน่วยงาน** ระบบบริหารจัดการทรัพยากร/องค์ความรู้ ภาคีเครือข่ายมีการประสานงานและร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการความเสี่ยง Env.Occ.** พัฒนาภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพให้เป็นผู้นำทางด้านการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม** ระบบจัดการความรู้/ข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ พัฒนาระบบการสื่อสารตามมาตรฐานสากลและสารสนเทศเทคโนโลยี** ระบบข้อมูลด้าน Env.Occ มีประสิทธิภาพ บุคลากรและแกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีสมรรถนะและศักยภาพในการดำเนินงาน Env.Occ สอนงาน On the job Training จัดทำคู่มือปฏิบัติงาน/ประชุมชี้แจง** จัดระบบการเก็บข้อมูลและประมวลผล** (รวบรวม เรียบเรียง วิเคราะห์และประมวลผล) พื้นฐาน องค์กรมีวัฒนธรรมและโครงสร้างที่เอื้อต่อการทำงาน ประเมินคุณภาพองค์กร** ( ** คือ กิจกรรม )