การจัดทำ Research Proposal นพ.ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ Email: narak@health.moph.go.th สำนักจัดการความรู้ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ความรู้: ปัญหาของเราอยู่ที่ไหน ความรู้: ปัญหาของเราอยู่ที่ไหน เรารู้ เรารู้ ว่าเราไม่รู้ เรามั่นใจว่าเรารู้ แต่เรารู้มาผิดๆ เราไม่รู้ ว่าเราไม่รู้
อย่าคิดทำวิจัยคนเดียว
งานวิจัยของกรมควบคุมโรค เป็นภารกิจที่สำคัญ งบประมาณมี แต่ไม่มีงานวิจัยที่มีคุณภาพ วิจัยไปเพื่อให้ได้ความรู้ (ที่ยังไม่รู้ หรือไม่แน่ใจ) เพื่อนำมาพัฒนายุทธศาสตร์/แนวทางการป้องกันควบคุมโรค
การวิจัย การสะสม การรวบรวม การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบระเบียบ เพื่อแสวงหาคำตอบสำหรับปัญหาหรือคำถามการวิจัยที่กำหนดไว้ หรือเพื่อแสวงหาความรู้ใหม่ ซึ่งทำให้เกิดความก้าวหน้าทางวิทยาการหรือเกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ ด้วยกระบวนการอันเป็นที่ยอมรับในวิทยาการแต่ละสาขา
Proposal/Protocol Research proposal – ข้อเสนอโครงการวิจัย จัดทำเพื่อเสนอของบประมาณ กล่าวถึงหลักการใหญ่ๆ ว่าถ้าได้งบฯ จะทำอะไร อย่างไร Research protocol – โครงร่างการวิจัย/โครงการวิจัย จัดทำเมื่อเป็นเครื่องมือกำกับการดำเนินการวิจัยทั้งโครงการ เป็นเอกสารอ้างอิงสำหรับการดำเนินงานวิจัยทั้งโครงการ
แนวคิดสำหรับการจัดทำ Proposal หลักการและเหตุผลของการทำวิจัย - การทบทวนวรรณกรรม วัตถุประสงค์การวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย (อธิบายหลักการ ไม่จำเป็นต้องละเอียดมาก) งบประมาณ
การทบทวนวรรณกรรม สืบค้นเอกสารงานวิจัยให้ได้ครบถ้วน ไทย: http://161.200.96.233/thaiim.html www.kmddc.go.th อังกฤษ Pubmed: http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed National Library of Medicine: http://www.nlm.nih.gov http://www.freemedicaljournals.com The Cochrane Library: www.cochrane.org Unpublished articles
แนวคิดสำหรับการจัดทำ Proposal สำคัญที่สุดคือ ประเด็นที่ต้องจะทำวิจัย (หรือคำถามการวิจัย) ต้องเป็นประเด็นที่ยังไม่ทราบคำตอบ ต้องเป็นประเด็นที่สำคัญ (ไม่รู้ไม่ได้) การทบทวนวรรณกรรมสำคัญมาก ต้องเป็นสอดคล้องกันภารกิจ บทบาทหน้าที่ ของเรา/หน่วยงาน
คำที่มักใช้ในวัตถุประสงค์ อุบัติการณ์ ความชุก ปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยง ความเสี่ยงสัมพัทธ์ ความไว ความจำเพาะ ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ พัฒนารูปแบบ
แนวคิดสำหรับการจัดทำ Proposal ระเบียบวิธีวิจัย สามารถตอบคำถามการวิจัยได้ มีรายละเอียดมากพอสมควร แสดงให้เห็นว่าผู้วิจัยทราบข้อจำกัดของระเบียบวิธีและเครื่องมือที่ใช้ และได้พยายามที่จะป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นแล้ว
ระเบียบวิธีวิจัย ประชากร: ลักษณะ จำนวน วิธีการเลือก ประชากร: ลักษณะ จำนวน วิธีการเลือก วิธีการเก็บข้อมูล (กระดาษ vs electronic) เช่น การทบทวนเอกสาร เช่น Medical record แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ Focus group การตรวจร่างกาย ตรวจเลือด ตรวจชิ้นเนื้อ การวิเคราะห์ข้อมูล
การสุ่มตัวอย่าง Simple random sampling Systematic sampling Cluster sampling Stratify sampling Multistage sampling RDS – Respondent driven sampling VDT - Venue Day Time sampling
ตัวอย่างที่ไม่ดี - การเขียนขั้นตอนการวิจัย ทบทวนวรรณกรรม จัดทำโครงการวิจัย ขออนุมัติโครงการ ประชุมคณะผู้เชี่ยว/ที่ปรึกษาเพื่อร่วมกันจัดทำโครงการวิจัย พัฒนาแบบสอบถาม พัฒนาคู่มือเก็บข้อมูล อบรมเจ้าหน้าที่ ดำเนินการภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอผลต่อผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ
งบประมาณ ทำตามระเบียบ คิดตามระเบียบวิธีวิจัย กิจกรรม พื้นที่ และจำนวนตัวอย่าง คำนวณตามความจำเป็นจริง อาศัย Unit cost ที่กรมฯ ให้ใช้เป็นแนวทางในการคำนวณงบประมาณ ที่ไม่ควรใส่ในโครงการ เช่น กิจกรรมประชุม/อบรม การเผยแพร่ผลการวิจัย ค่าเดินทางไปประชุมวิชาการ
แนวคิดสำหรับการจัดทำ Proposal (อื่นๆ) ผู้วิจัยต้องมีความรู้ความสามารถเพียงพอที่จะทำวิจัยได้สำเร็จ ระบุระยะเวลาการทำวิจัยที่เหมาะสม ในโครงการวิจัยควรมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับโครงการวิจัยเท่านั้น ในกรณีที่ทำวิจัยในคน ควรระบุข้อพิจารณาทางจริยธรรม งบประมาณต้องสมเหตุสมผล