งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บรรยายโดย ประวีณ ณ นคร ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บรรยายโดย ประวีณ ณ นคร ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บรรยายโดย ประวีณ ณ นคร ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ.
บรรยายโดย ประวีณ ณ นคร ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ. บทบาทและจรรยาของผู้ดำเนินการเกี่ยวกับวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์

2 บทบาทและจรรยาของผู้ดำเนินการเกี่ยวกับ วินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์
บทบาทและจรรยาของผู้ดำเนินการเกี่ยวกับ วินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ มีคำที่จะต้องทำความเข้าใจเสียก่อน 3 คำ คือ 1. บทบาท 2. จรรยา 3. ผู้ดำเนินการเกี่ยวกับวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ P.E .1

3 บทบาท บทบาท Role หมายถึง หน้าที่ที่พึงปฏิบัติหรือ แสดงออก
บทบาทของผู้ดำเนินการเกี่ยวกับวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ หน้าที่ที่พึงปฏิบัติหรือแสดงออกของผู้ดำเนินการ เกี่ยวกับวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ P.E 2

4 จรรยา ETHICS หมายถึง หลักที่พึงประพฤติ
จรรยาของผู้ดำเนินการเกี่ยวกับวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ หลักที่พึงประพฤติของผู้ดำเนินการเกี่ยวกับวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ P.E .3

5 ผู้ดำเนินการเกี่ยวกับ วินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์
ผู้ควบคุมดูแล ผู้แสวงหาและรวบรวมข้อมูล ผู้นำเสนอเรื่องต่อผู้พิจารณาวินิจฉัย ผู้พิจารณาวินิจฉัย ผู้ดำเนินการให้เป็นไปตามคำวินิจฉัย P.E .4

6 ขั้นตอนในการดำเนินการเกี่ยวกับ วินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์
ขั้นตอนในการดำเนินการเกี่ยวกับ วินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ ควบคุมดูแล แสวงหาและรวบรวมข้อมูล นำเสนอเรื่องต่อผู้พิจารณา พิจารณาวินิจฉัยเรื่อง ดำเนินการให้เป็นไปตามคำวินิจฉัย P.E .5

7 บทบาทของผู้ควบคุมดูแล เกี่ยวกับวินัย มีลักษณะคล้ายตำรวจในกระบวนการยุติธรรม
P.E .6

8 วิธีการแสวงหาข้อมูล สอบถาม สืบสวน สอบสวน P.E .7

9 บทบาทในการแสวงหาและรวบรวมข้อมูลมีลักษณะคล้ายพนักงานสอบสวนในกระบวนการยุติธรรม
P.E .8

10 สาระสำคัญในบันทึกเสนอเรื่อง
ชื่อเรื่อง ชนิดของเรื่อง ความเป็นมาของเรื่อง ข้อมูลประกอบเรื่อง การวิเคราะห์เรื่อง ความเห็นของผู้เสนอ P.E. 9

11 วัตถุประสงค์ของการเขียนชื่อเรื่อง
ให้รู้ใจความว่าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับอะไร ให้สามารถแยกความแตกต่างจากเรื่องอื่นได้ ให้สามารถแยกเก็บและค้นหาอ้างอิงได้ง่าย P.E. 10

12 การวิเคราะห์เรื่อง เป็นการพิจารณาหาคำตอบในประเด็นที่เป็นปัญหา ของเรื่อง เช่น ผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดวินัยหรือไม่ อุทธรณ์ฟังขึ้นหรือไม่ ควรปลดเปลื้องทุกข์ให้แก่ผู้ร้องทุกข์อย่างไร โดยใช้หลักเกณฑ์และเหตุผลสนับสนุนคำตอบนั้น P.E. 11

13 หลักเกณฑ์และเหตุผลประกอบเรื่อง
ตรรกวิทยา จิตวิทยา หลักวิชา กฎเกณฑ์ ผลดีผลเสีย ระดับมาตรฐาน ความเป็นธรรม มโนธรรม ข้อจำกัด ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ นโยบายและแผนงาน P.E. 12

14 การเสนอเรื่องด้วยวาจา
ควรเสนอให้มีสาระสำคัญตามลำดับ ดังนี้ เรื่องนี้เป็นเรื่องในลักษณะใด เรื่องนี้มีความเป็นมาอย่างไร ข้อเท็จจริงได้ความตามเรื่องอย่างไร มีประเด็นต้องวินิจฉัยอย่างไร ผู้เกี่ยวข้องมีความเห็นอย่างไร ผู้นำเสนอมีความเห็นอย่างไร P.E. 13

15 การนำเสนอเรื่องต่อผู้พิจารณา
เป็นบทบาทที่มีลักษณะคล้ายอัยการในกระบวนการยุติธรรม P.E. 14

16 บทบาทในการวินิจฉัยเรื่อง
การวินิจฉัยเรื่อง เป็นบทบาทของ ผู้บังคับบัญชาและ อ.ก.พ. ซึ่งคล้ายกับ ผู้พิพากษาในกระบวนการยุติธรรม P.E. 15

17 การดำเนินการให้เป็นไปตามคำวินิจฉัย
เป็นบทบาทที่มีลักษณะคล้ายกรมราชทัณฑ์และ กรมคุมประพฤติของกระทรวงยุติธรรม                                                                                 P.E. 16


ดาวน์โหลด ppt บรรยายโดย ประวีณ ณ นคร ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google