ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
การติดตามประเมินผล ปี 2552
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
ทองดี มุ่งดี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรกฎาคม ๒๕๕๖
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
และการนำไปใช้ประโยชน์
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การเขียนโครงการ.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ การถอดบทเรียน ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ ปีงบประมาณ 2553

คำถามเพื่อการถอดบทเรียนความก้าวหน้าของโครงการ (ไตรมาสที่ 1) แรงบันดาลใจ (ทำไมถึงทำ) (ที่มา หรือ ความสำคัญของปัญหา หรือ หลักการและเหตุผล) เป็นนโยบายที่ถ่ายระดับมาให้ สคร. ดำเนินการ

คำถามเพื่อการถอดบทเรียนความก้าวหน้าของโครงการ (ไตรมาสที่ 1) ๒. สิ่งที่อยากให้เกิด (ทำเพื่ออะไร) (วัตถุประสงค์ของโครงการ) ให้มีชุมชนต้นแบบในการลดเสี่ยงลดโรค โดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ ชุมชน/ท้องถิ่นมีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) ในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

คำถามเพื่อการถอดบทเรียนความก้าวหน้าของโครงการ (ไตรมาสที่ 1) ๓. กิจกรรมที่ทำ (ทำอย่างไร) (วิธีการ/ ขั้นตอน/ แนวทาง ของโครงการ ) แต่ละระดับ เวทีกำหนดแนวทางการคัดเลือกพื้นที่จัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ลดโรคและภัยสุขภาพ ประสานและชี้แจงพื้นที่ระดับจังหวัด กิจกรรมประสานและชี้แจงพื้นที่ระดับอำเภอ/ตำบล จัดเวทีประชาคมระดมความคิดเห็นชุมชนและจัดทำ mini-SLM ชุมชน ติดตาม ประเมินผลการพัฒนาศักยภาพชุมชนลดเสี่ยงลดโรค รวบรวมข้อมูล สรุปวิเคราะห์ ประมวลผล จัดทำรายงานนำเสนอผู้บริหาร และเผยแพร่

คำถามเพื่อการถอดบทเรียนความก้าวหน้าของโครงการ (ไตรมาสที่ 1) ๔. ผลที่เกิด (ทำแล้วได้อะไร ในแต่ละช่วงเวลาที่กำหนด) (ผลที่ได้ของกิจกรรมตามระยะเวลาที่กำหนดตามแผน) ได้ประสานงานจังหวัดในเบื้องต้น เรื่องของการคัดเลือกพื้นที่ดำเนินการ จังหวัดเห็นความสำคัญและให้ความร่วมมือในการดำเนินงาน

คำถามเพื่อการถอดบทเรียนความก้าวหน้าของโครงการ (ไตรมาสที่ 1) ๕. ความก้าวหน้า ความสำเร็จ ความภาคภูมิใจ (มีอะไรบ้าง เป็นไปตามแผน หรือน้อยกว่าแผน หรือมากกว่าแผน) เป็นไปตามแผนที่วางไว้ แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าความสำเร็จและความภาคภูมิใจอย่างชัดเจน

คำถามเพื่อการถอดบทเรียนความก้าวหน้าของโครงการ (ไตรมาสที่ 1) ๖. เส้นทางสู่ความสำเร็จ (มีปัจจัย เงื่อนไขอะไร) ผู้บริหารของจังหวัดเห็นความสำคัญและผลักดันการดำเนินงาน บุคลากรมีความรู้และทักษะในการทำแผนที่ยุทธศาสตร์ ชุมชนมีความพร้อมและเห็นความสำคัญถึงปัญหา

คำถามเพื่อการถอดบทเรียนความก้าวหน้าของโครงการ (ไตรมาสที่ 1) ๗. สิ่งที่ยังไม่ได้ดั่งใจ คืออะไร…… เพราะ..........จะแก้อย่างไร..... วิทยากรระดับเขตยังไม่มั่นใจในความรู้และทักษะของการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์อย่างถ่องแท้ เนื่องจากยังไม่ได้รับการฝึกอบรมอย่างเต็มรูปแบบ ที่ผ่านมาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งควรอบรมให้วิทยากรระดับเขตให้มีความสามารถในการถ่ายทอดการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์แบบฉบับชาวบ้าน มีการนำประยุกต์ใช้ได้อย่างง่ายและชัดเจน (ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย)

คำถามเพื่อการถอดบทเรียนความก้าวหน้าของโครงการ (ไตรมาสที่ 1) ๘. สิ่งที่ได้มาโดยไม่ได้คาดหวัง คืออะไร …… เกิดขึ้นได้เพราะ.... สำนักตรวจราชการได้ให้ความสำคัญในการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด โดยมีการอบรมการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ให้แก่บุคลากร บุคลากรมีความสนใจ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปฏิบัติแต่ละกลุ่มงาน ในการทำแผนที่ยุทธศาสตร์ในหน่วยงาน เกิดขึ้นได้เพราะเมื่อทดลองทำแผนที่ยุทธศาสตร์ของแต่ละกลุ่มงานแล้วเห็นประโยชน์ในการที่จะนำไปใช้ได้จริง

คำถามเพื่อการถอดบทเรียนความก้าวหน้าของโครงการ (ไตรมาสที่ 1) ใจ ความคิด ความรู้ ทักษะ ที่ได้ (ส่งผลต่อการพัฒนาอะไร อย่างไร พร้อมข้อเสนอแนะ แนวทางการพัฒนาในระยะต่อไปให้บรรลุเป้าหมาย) ได้ความรู้และทักษะที่ได้จากการปฏิบัติจริง การเรียนรู้ด้วยตนเอง จากการช่วยกันให้ความคิดเห็น และเติมเต็มในส่วนที่แต่ละคนขาด ทำให้ได้ใจคนทำงาน

สวัสดี