ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) (กำหนดเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2552) ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) มีมาตรการทางสังคม/โครงการสร้างสุขภาพ/ป้องกันโรค/ภัยสุขภาพ/สิ่งแวดล้อมโดยชุมชน มีระบบเฝ้าระวังพฤติกรรม/ โรคและภัยสุขภาพ ในชุมชน มีการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่มีคุณภาพ /มีระบบ บริการที่ได้มาตรฐาน มีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นดูแลสุขภาพ มีสิ่งแวดล้อมที่ดีเอื้อต่อการจัดการสุขภาพ มีการดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ด้วยตนเอง ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข/ระดับเขตสนับสนุนวิชาการที่ได้มาตรฐาน สปสชเขต/องค์กรเอกชนที่หลากหลาย/NGO / ผู้ประกอบการ /สื่อสารมวลชน ทั้งในและนอกเขต มีส่วนร่วมสนับสนุนงานที่ได้มาตรฐาน เครือข่ายภาคสังคมทุกภาคส่วน และทุกระดับ มีส่วนร่วม สนับสนุน/ดำเนินงาน อปท.สนับสนุนทรัพยากร /มีส่วนร่วมขับเคลื่อนงานและส่งเสริมมาตรการทางสังคมอย่างต่อเนื่อง ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) มีการจัดการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แบบบูรณาครอบคลุมทุกระดับ มีการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ/สื่อสารประชาสัมพันธ์ที่หลากหลายครอบทุกครัวเรือน มีการบริหารจัดการเครือข่ายทุกระดับที่มีประสิทธิภาพ มีการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดีมีประสิทธิภาพ มีการจัดการความรู้และนวตกรรมอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง มีระบบติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ ระดับพื้นฐานองค์กร (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) องค์กร/กองทุนสุขภาพและทีมงานเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีระบบงาน วัฒนธรรมและระบบแรงจูงใจที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน บุคลากร/แกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีศักยภาพดำเนินงานที่เหมาะสม ข้อมูลทรัพยากร/สุขภาพ และสังคม มีคุณภาพ เป็นระบบเชื่อมโยง ครอบคลุม ทั่วถึงและทันสมัย
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์งานสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 ปีพ.ศ. 2553-2556 วันที่ 14 ตุลาคม 2552 มิติด้านการพัฒนาองค์กร (มุมมองด้านการเรียนรู้และพัฒนา) (มุมมองด้านการบริหารจัดการภายใน) มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ (มุมมองด้านลูกค้า) มิติด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ (มุมมองด้านการเงิน) สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่มีคุณภาพ/ได้รับบริการที่ได้มาตรฐาน -พัฒนาศูนย์ประสานเครือข่ายข้อมูลข่าวสารที่ครอบคลุมทั่วถึง - ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพระบบบริการ - พัฒนาศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์/เจรจาไกล่เกลี่ยครือข่าย มีระบบเฝ้าระวังพฤติกรรม/ โรค/ภัยสุขภาพ/สิ่งแวดล้อมในชุมชน - เสริมสร้างบทบาทประชาชนในการเฝ้าระวัง พฤติกรรมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน -สร้างและพัฒนาระบบพัฒนาการเฝ้าระวัง พฤติกรรมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน -พัฒนาความสามารถ/การมีส่วนร่วมการเฝ้าระวัง พฤติกรรม/ป้งกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง - สร้างบุคคลและชุมชนต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพ - สร้างกระแสแรงจูงใจการมีส่วนร่วมการดูแลสุขภาพ -ส่งเสริมการจัดการความรู้ ดูแลสุขภาพในชุมชน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ด้วยตนเอง - สร้างกระแสสังคมทุกระดับ -สร้างนโยบายสาธารณทุกระดับ - สร้างกระบวนการเรียนรู้การจัดการนวตกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมครอบคลุมทุกระดับ -ส่งเสริมการจัดทำบัญชีนวตกรรมระดับเขต มีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการสุขภาพ -สร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลและจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีเอื้อต่อการจัดการสุขภาพ -สนับสนุนการสร้างมาตรการการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมในชุมชน -ปลูกจิตสำนึกให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลและจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีเอื้อต่อการจัดการสุขภาพ มีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพ -ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้รับการรับรอง -สนับสนุนการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้รับรอง - ประชาชนพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีมาตรการทางสังคม สร้างสุขภาพ ป้องกันโรค ภัยสุขภาพ/สิ่งแวดล้อมโดยชุมชน - สนับสนุนและส่งเสริมการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมโดยชุมชน -พัฒนามาตรการทางสังคมให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชน -ส่งเสริมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างและใช้มาตรการทางสังคมโดยชุมชน อปท.สนับสนุนทรัพยากร/มีส่วนร่วมขับเคลื่อนงานและส่งเสริมมาตรการทางสังคมอย่างต่อเนื่อง -ส่งเสริมการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ร่วมกัน -ส่งเสริมการจัดตั้งกองทุนสุขภาพตำบลให้ครอบคลุมทั่วถึง -ส่งเสริมการสร้างมาตรการทางสังคมให้ครอบคลุม -ผลักดันให้ อปท.เห็นความสำคัญของงานสาธารณสุขและกำหนดเป็นนโยบายของท้องถิ่น หน่วยงานในและนอกสธ/ระดับเขตมีบทบาทสนับสนุนวิชาการที่ได้มาตรฐาน -ส่งเสริมการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์บูรณาการในทุกระดับ -สร้างมาตรฐานงานสร้างเสริมสุขภาพหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ - สนับสนุนเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับเขต สปสชเขต/องค์กรเอกชนที่หลากหลาย/NGO /ผู้ประกอบการ/สื่อสารมวลชน ทั้งในและนอกเขต มีส่วนร่วมสนับสนุนงานที่ได้มาตรฐาน -ส่งเสริมการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์บูรณาการในทุกระดับ -สร้างมาตรฐานงานสร้างเสริมสุขภาพหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ -สนับสนุนเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับเขต เครือข่ายภาคสังคมทุกภาคส่วน และทุกระดับ มีส่วนร่วมสนับสนุน/ดำเนินงาน -เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายภาคสังคมทุกระดับให้มีศักยภาพและมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน -ส่งเสริมการขับเคลื่อนกระบวนการทางสังคมให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ/สื่อสารประชาสัมพันธ์ที่หลากหลายครอบคลุมทุกครัวเรือน - พัฒนาระบบสื่อสารเทคโนโลยี่สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ - พัฒนารูปแบบ/ช่องทางการเข้าถึงแหล่งข้อมูล จัดการความรู้และนวตกรรมอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง -สร้างกระบวนการบริหารจัดการความรู้และ นวตกรรมครอบคลุมทุกระดับ -พัฒนาระบบการบริหารจัดการความรู้และนวตกรรม สนับสนุน/ส่งเสริมให้เครือข่าทุกระดับ -มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และนวตกรรม สร้างกระบวนการบริหารจัดการความรู้และนวตกรรมครอบคลุมทุกระดับ สนับสนุน/ส่งเสริมให้เครือข่าทุกระดับมีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และนวตกรรม ระบบติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ -ส่งเสริมการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ในการติดตามประเมินผล - พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลทุกระดับ จัดการสร้างและใช้จัดการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แบบบูรณาครอบคลุมทุกระดับ -จัดการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แบบบูรณาครอบคลุมทุกระดับ - สสร้างระบบการประเมินผลการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ทุกระดับ บริหารจัดการทรัพยากรที่ดีมีประสิทธิภาพ -สร้างมาตรการและกระบวนการในการบริหารจัดการทรัพยากร -สร้างเครื่องมือสื่อสารและประเมินผล บริหารจัดการเครือข่ายทุกระดับที่มีประสิทธิภาพ -สร้างเครื่อข่ายสัมพันธ์ การบริหารจัดการเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค -สร้างเวที่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเครือข่ายทุกระดับ -สร้างระบบการประเมินผลเครื่อข่ายฯอย่างต่อเนื่อง - บุคลากร/แกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีสมรรถนะดำเนินงานที่เหมาะสม -พัฒนาทักษะ กระบวนการจัดการเรียนรู้ -พัฒนาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ - พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในการจัดการปัญหาสุขภาพตามสภาพปัญหาของพื้นที่ องค์กร/กองทุนสุขภาพและทีมงานเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีระบบงาน วัฒนธรรมและแรงจูงใจที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน -ส่งเสริมการบริหารจัดการภาครัฐที่ดี -พัฒนาระบบการสร้างแรงจูงใจ -พัฒนาทบทวนกระบวนการปรับปรงการทำงาน ข้อมูลทรัพยากร/สุขภาพและสังคมมีคุณภาพ เป็นระบบเชื่อมโยง ครอบคลุม ทั่วถึงและทันสมัย -สร้างศูนย์ข้อมูลกลาง -พัฒนาระบบเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2554 (ระยะ 2 ปี) (กำหนดเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2552) ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) มีมาตรการทางสังคม/โครงการสร้างสุขภาพ ป้องกันโรค ภัยสุขภาพ/สิ่งแวดล้อมโดยชุมชน มีระบบเฝ้าระวังพฤติกรรม/ โรค /ภัยสุขภาพและ สิ่งแวดล้อมในชุมชน มีการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่มีคุณภาพ /มีระบบ บริการที่ได้มาตรฐาน มีการดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง/ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ที่เหมาะสม ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข/ระดับเขตสนับสนุนวิชาการที่ได้มาตรฐาน สปสชเขต/องค์กรเอกชนที่หลากหลาย/NGO /ผู้ประกอบการ ทั้งในและนอกเขต มีส่วนร่วมสนับสนุนงานที่ได้มาตรฐาน เครือข่ายภาคสังคมทุกภาคส่วน และทุกระดับ มีส่วนร่วม สนับสนุน/ดำเนินงาน อปท.สนับสนุนทรัพยากร /มีส่วนร่วมขับเคลื่อนงานและส่งเสริมมาตรการทางสังคมอย่างต่อเนื่อง ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) มีการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แบบบูรณาครอบคลุมทุกระดับจัดการทรัพยากร/ ติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ มีการบริหารจัดการเครือข่ายทุกระดับที่มีประสิทธิภาพ มีการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ/สื่อสารประชาสัมพันธ์ที่หลากหลายครอบทุกครัวเรือน มีการจัดการความรู้และนวตกรรมอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่องครอบคลุมทุกระดับ ระดับพื้นฐานองค์กร (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) องค์กร/กองทุนสุขภาพและทีมงานเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีระบบงาน วัฒนธรรมและระบบแรงจูงใจที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน บุคลากร/แกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีสมรรถนะ สามารถดำเนินงานที่เหมาะสม ข้อมูลทรัพยากร สุขภาพ และสังคม มีคุณภาพ เป็นระบบเชื่อมโยง ครอบคลุม ทั่วถึงและทันสมัย
ตัวนี้เป็น CSF ตัวนี้เป็น CSF แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และภัยสุขภาพภายในปี 2554 (ระยะ 2 ปี) (กำหนดเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2552) 2552 มีความเข้มแข็งและยั่งยืน ในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและภัยสุขภาพของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต4 สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่มีคุณภาพ /ได้รับบริการที่ได้มาตรฐาน ประชาชน ตัวนี้เป็น CSF มีระบบเฝ้าระวังพฤติกรรม/ โรค/ภัยสุขภาพ/สิ่งแวดล้อมในชุมชน มีมาตรการทางสังคม /โครงการสร้างสุขภาพ ป้องกันโรค /ภัยสุขภาพ/สิ่งแวดล้อม โดยชุมชน ตัวนี้เป็น CSF อปท.สนับสนุนทรัพยากร /มีส่วนร่วมขับเคลื่อนงานและส่งเสริมมาตรการทางสังคมอย่างต่อเนื่อง สปสชเขต/องค์กรเอกชนที่หลากหลาย/NGO /ผู้ประกอบการ /สื่อสารมวลชน ทั้งในและนอกเขต มีส่วนร่วมสนับสนุนงานที่ได้มาตรฐาน เครือข่ายภาคสังคมทุกภาคส่วน และทุกระดับ มีส่วนร่วม สนับสนุน/ดำเนินงาน ภาคี หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข/ระดับเขตสนับสนุนวิชาการที่ได้มาตรฐาน บริหารจัดการเครือข่ายทุกระดับ ที่มีประสิทธิภาพ จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ/สือสารประชาสัมพันธ์ที่หลากหลายครอบคลุมทุกครัวเรือน จัดการความรู้และนวตกรรมอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่องครอบคลุม ทุกระดับ กระบวนการ บริหารจัดการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แบบบูรณาครอบคลุมทุกระดับจัดการทรัพยากรและติดตามประเมินผล ที่มีประสิทธิภาพ องค์กร/กองทุนสุขภาพ/ทีมงานเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีระบบงาน วัฒนธรรม/ระบบแรงจูงใจที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน ข้อมูลทรัพยากร/สุขภาพ /สังคม มีคุณภาพเป็นระบบเชื่อมโยง ครอบคลุม ทั่วถึงและทันสมัย พื้นฐาน บุคลากร/แกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีสมรรถนะสามารถดำเนินงานที่เหมาะสม