วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รูปแบบการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูหลังน้ำท่วม
Advertisements

การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ความหมายและกระบวนการ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงฯ เขตฯ10 ประจำปี วันที่ พ. ย ณ รร
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แนวทางการบูรณาการ โครงการพัฒนาสุขภาพจิตใน เขต 11 และ 13 ประจำปีงบประมาณ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มที่ 11.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปงานที่ ต้องทำต่อ ศูนย์เทคโนโลยีและการสื่อสาร กองแผนงาน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริม การเกษตร.
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อเรื่อง การเพิ่มคุณภาพในโครงการพัฒนารูปแบบปฏิบัติการบริการในสถานบริการพื้นฐาน วันที่ถ่ายทอด 10 - 11 มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบงานโรคไม่ติดต่อ 6 จังหวัด ผู้ถ่ายทอด นางนิภาศรี คำจริง นักวิชาการสาธารณสุข 8ว.

การเพิ่มคุณภาพในโครงการพัฒนารูปแบบปฏิบัติการบริการในสถานบริการพื้นฐาน นำเสนอโดยนางนิภาศรี คำจริง ตามโครงการเพิ่มคุณภาพฯ จ. น่าน วันที่ 10 - 11 มีนาคม 2548

สมาชิก ประธาน นิภาศรี คำจริง เลขานุการ พนา พวงมะลิ ประธาน นิภาศรี คำจริง เลขานุการ พนา พวงมะลิ ที่ปรึกษากลุ่ม เพชราภรณ์ สมาชิกกลุ่ม สุภาพ ทองสุขุม ภาศินี ป้องป้อม ยุพิน อินพิทักษ์ อารมณ์ พลญาพิพัฒน์ เยาวเรศ วิสูตรโยธิน เสาวนีย์ ดีมูล

ขั้นตอนปฏิบัติในการเริ่มต้นและดำรงความต่อเนื่องของการเพิ่มคุณภาพการปฏิบัติการบริการของเครือข่ายสถานบริการในจังหวัด

2.ดำเนินการตามมาตรฐานด้านการป้องกันควบคุมโรคในทิศทางเดียวกัน 1.สร้างองค์ความรู้ในด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อในทุกระดับ (รพศ. รพท. รพช. สสจ. สสจ. PCU เครือข่ายเอกชนและท้องถิ่น) ให้สอดคล้องกับ สปสช 2.ดำเนินการตามมาตรฐานด้านการป้องกันควบคุมโรคในทิศทางเดียวกัน 3.ชี้แจงการประเมินคุณภาพด้านการป้องกันควบคุมโรค

4.ปรับระดับคุณภาพในส่วนที่ขาด จากข้อ 3 พร้อม หาแนวทางแก้ไขเพื่อให้เป็น CQI 5.สนับสนุนด้านวิชาการงานโรคไม่ติดต่อ (สื่อประชาสัมพันธ์ต้นแบบ) 6.พัฒนาระบบข้อมูลสถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงเพื่อลดความซ้ำซ้อนในระบบการให้บริการโดยมีสมุดประจำตัวผู้รับบริการ(เลขประจำตัว 13 หลัก)

7.กำหนดเป้าหมายของการบริการ ( เรื่อง, คน, สถานที่ ) 7.กำหนดเป้าหมายของการบริการ ( เรื่อง, คน, สถานที่ ) -ให้ความรู้ในด้านเทคนิควิธีการด้านสุขศึกษาและการสื่อสาร (เช่น ทักษะชีวิต Self Help Group) 8.รณรงค์หัวใจ หลอดเลือด และการบาดเจ็บอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ( เหมือนรวมพลังสร้างสุขภาพ สร้างความตระหนัก ) ทั้งประเทศ 9.วิเคราะห์ข้อมูลในพื้นที่เกี่ยวกับกลุ่มเสี่ยง,ภาระโรค

10.บูรณาการงานโรคไม่ติดต่อร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่ที่มีการ ดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ 11.วางแผนขั้นตอนการพัฒนาต่อเนื่อง 12.นิเทศ ประสาน กำกับ ติดตามงานอย่างต่อเนื่อง

แบบการวิเคราะห์ปัจจัยและการสนับสนุน

เพิ่มอะไรเพื่อเพิ่มคุณภาพ การสนับสนุนที่ต้องมี ปัจจัยคุณภาพ เพิ่มอะไรเพื่อเพิ่มคุณภาพ การสนับสนุนที่ต้องมี 1.วิธีการปฏิบัติ 1.แนวทางดำเนินงาน/มาตรฐาน/คุณภาพ 2.แนวทางการประเมินผล 1.คู่มือให้เขต/จังหวัด/CUP 2.การแสดงออกของการบริการ 1.มีแผนการออกนิเทศ 2.มีการให้การปรึกษาด้านบริการ/วิชาการ 3.มีการบูรณาการงานเขากับกิจกรรมของกระทรวงกรม กอง อื่น ที่มีกลุ่มเป้าหมายเดียวกัน 1.แผนบูรณาการ

3.ศักยภาพของผู้ปฏิบัติงาน 1.องค์วามรู้/ศึกษาวิจัย/กลยุทธ์การทำงาน 1.มีการฝึกอบรมเป็นระยะ 2.ศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ 3.ทีมให้คำปรึกษาด้านการวิจัย 4.ประสานกลางสนับสนุนการปฏิบัติงานในด้านต่างๆทุกด้าน 4.ความรู้ความเข้าใจของผู้รับบริการและผู้ที่เกี่ยวข้อง 1.สร้างความตระหนัก 2.มีคู่มือที่เหมาะสม 3.การเชื่อมโยงเครือข่าย 1.แนะนำแหล่งข้อมูล 2.จัดหาคู่มือ

5.สิ่งของหรือวัสดุรวมทั้งข้อมูลข่าวสาร 1.มีระบบสืบค้นข้อมูลโรคไม่ติดต่อโดยเชื่อมโยงกับจังหวัด 2.กำหนดมาตรฐานวัสดุ 1.สนับสนุนและพัฒนาระบบฐานข้อมูล 6.เครื่องมือเครื่องใช้อุปกรณ์ 1.มีศูนย์ให้บริการสอบวัดคุณภาพเครื่องมือ 1.ความรู้ด้านการใช้งาน 7.สถานที่ 1.ต้นแบบในการลดปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ 2.ศูนย์การเรียนรู้งาน โรคไม่ติดต่อ(Learning Organization) 1.มาตรการ/กฎหมาย/นโยบาย 2.ศึกษาดูงานในพื้นที่ต้นแบบ